194
โสวัฒนธรรม
ร้
อยเอ็
ดท�
ำให้
เกิ
ดเมื
องต่
างๆ ขึ้
นมากมายในบริ
เวณใกล้
เคี
ยงทั้
งเมื
องที่
ยึ
ดถื
อใน
เปิ
งบ้
าน เปิ
งเมืองแบบเก่
าหรือกลุ่
มคนที่
อพยพเข้
ามาอยู่
ใหม่
อย่
างชาวกูย ผู้
ไทย
ไทยกะเลิ
งและกลุ่มอื่
นๆ และผลงานของจั
งหวั
ดหนองคาย (2540) ได้รวบรวมเรื่
อง
ราวเนื้
อหาเกี่
ยวกั
บจั
งหวั
ดหนองคาย ในเกื
อบทุ
กด้าน ทั้
งทางประวั
ติ
ศาสตร์ ศิ
ลป
วั
ฒนธรรม สั
งคมท้
องถิ่
น ทั้
งในอดี
ตและปั
จจุ
บั
น ตลอดจนสถานที่
ท่
องเที่
ยวที่
สวยงามเป็นจ�ำนวนมากและประเพณี
อั
นดี
งาม ความเชื่
อต่างๆ ของชาวหนองคาย
นอกจากนี้ยังน�ำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีในจังหวัดหนองคายรวมทั้
ง
บุคคลส�ำคัญอีกด้วย ซี่งมีแนวคิดที่ต้องการจะรวบรวมเรื่องราวต่างๆ ของจังหวัด
ให้ครบถ้วน เพื่
อเป็นประโยชน์แก่นั
กเรี
ยน นั
กศึ
กษา บุ
คคลทั่
วไปที่
สนใจ สามารถ
ใช้ในการอ้างอิ
ง ค้นคว้า
4.2 เศรษฐกิจชุมชน การเกษตร ความยากจน และแรงงาน
การศึกษาวิจัยเศรษฐกิจชุมชนในของภาคตะวันออกเฉี
ยงเหนือในรอบหนึ่
ง
ทศวรรษที่
ผ่
านมา มี
จ�
ำนวน 99 เรื่
อง โดยแบ่
งกลุ
่
มหั
วข้
อเรื่
องที่
ท�
ำการวิ
จั
ยออก
เป็น 4 กลุ่ม ดั
งนี้
คื
อ
การศึกษาสภาพทั่วไปของเศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในช่
วงหลั
งสงครามโลกครั้
งที่
2 ถึ
งปั
จจุ
บั
น (2488-2544) มี
จ�ำนวน 21
เรื่อง โดยในเนื้อหาจะกล่
าวถึงวิถีชีวิตและสภาพเศรษฐกิจของชุมชนในยุคแรกว่
า
โครงสร้างทางสั
งคมรวมกั
นอยู่แบบเครื
อญาติ
เคารพอาวุ
โส เชื่
อบุ
ญกรรม ศรั
ทธา
ในพระพุทธศาสนา การท�ำมาหากินเป็นแบบการผลิตเพื่อยังชีพโดยพึ่งตนเองเป็น
หลั
กและต้
องพึ่
งพาทรั
พยากรจากธรรมชาติ
สูง อาชี
พหลั
กที่
ส�
ำคั
ญได้
แก่
การท�ำนา
ท�
ำไร่
ท�
ำสวน วั
ฒนธรรมอี
สานมี
ส่
วนส�
ำคั
ญท�
ำให้
ศั
กยภาพทางเศรษฐกิ
จชุ
มชน
หมู่บ้านเข้มแข็ง แต่ในช่วงทศวรรษ 2500 เป็นต้นมา ระบบทุนนิยมเริ่มเข้าสู่ภาค
อี
สาน ชาวบ้
านเริ่
มปรั
บเปลี่
ยนอาชี
พการเกษตรมาปลูกพื
ชเศรษฐกิ
จเชิ
งเดี่
ยวที่
ส�
ำคัญได้
แก่
มันส�
ำปะหลั
ง ปอแก้
ว ข้
าวโพด ฯลฯ และหลั
งจากการประกาศใช้