Previous Page  165 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 165 / 318 Next Page
Page Background

164

โสวัฒนธรรม

ข้อมูล เนื่

องจากข้อมูลทางวั

ฒนธรรม มี

ลั

กษณะเป็นนามธรรม เช่น วิ

ถี

ชี

วิ

ต ระบบ

ความคิ

ดความเชื่

อของผู้

คน การศึ

กษาวิ

จั

ยจึ

งต้

องใช้

กลวิ

ธี

การวิ

จั

ยเชิ

งคุ

ณภาพที่

มี

วิ

ธี

การที่

หลากหลายร่

วมด้

วย ซึ่

งมี

ทั้

งการสั

งเกตการณ์

แบบมี

ส่

วนร่

วมและไม่

มี

ส่

วนร่

วม

การสัมภาษณ์

เชิงลึก รวมถึงการสร้

างความสนิ

ทสนมคุ้

นเคยกับพื้นที่ศึกษาและผู้

ให้

ข้

อมูลก็

มี

ความส�

ำคั

ญไม่

ยิ่

งหย่

อนไปกว่

ากั

น โดยเฉพาะการศึ

กษาวิ

จั

ยในประเด็

ความขั

ดแย้

งนั้

น จะเห็

นได้

ว่

า นั

กวิ

จั

ยต้

องใช้

กลวิ

ธี

ในการเก็

บข้

อมูลหลากหลาย

รูปแบบเพื่

อให้

ได้

ข้

อมูลที่

มี

ความน่

าเชื่

อถื

อยิ่

งขึ้

น ส่

วนแนวคิ

ดทฤษฎี

ที่

ปรากฏใน

การสั

งเคราะห์

งานวิ

จั

ยครั้

งนี้

สรุ

ปได้

ว่

าการวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมที่

ใช้

มุ

มมองใหม่

ๆ ถึ

จะมี

บ้

างแต่

ในการศึ

กษาที่

สั

งเคราะห์

ก็

ยั

งคงพบว่

า มี

น้

อยชิ้

น ส่

วนใหญ่

เป็

นการ

ศึกษาวิจัยแบบรวบรวมองค์ความรู้ท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นหลัก ซึ่งก็เป็น

ที่

น่

ายิ

นดี

ว่

า การวิ

จั

ยทางวั

ฒนธรรมที่

ผ่

านมาได้

สร้

างกระแสการให้

ความส�

ำคั

ญกั

องค์ความรู้ท้องถิ่

นที่

มี

ความแตกต่างหลากหลาย ซึ่

งก่อนหน้านี้

องค์ความรู้ท้องถิ่

บางอย่างแทบจะสูญหายไปจากสั

งคมอย่างน่าเสี

ยดาย

นอกจากนี้

การวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมด้

านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญายั

งผูกโยงกั

ประเด็นการพัฒนามาโดยตลอด ซึ่งปัญหาการพัฒนาประเทศที่ผ่านมายังประสบ

ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอยู่ระดับหนึ่

ง โดยเฉพาะ

อย่

างยิ่งในด้

านการพั

ฒนาสั

งคม ซึ่

งหากจะพิ

จารณาในสายตาของนั

กวั

ฒนธรรม

ย่

อมจะเห็นว่

า ปรากฏการณ์

ทางสั

งคมของการพัฒนาประเทศดั

งกล่

าว เกิ

ดจาก

ความไม่

สมดุ

ลของการพั

ฒนาวั

ฒนธรรมทางด้

านวั

ตถุ

และจิ

ตใจ จึ

งท�

ำให้

เกิ

ดปั

ญหา

การพั

ฒนาประเทศ ส่วนพลั

งความคิ

ดเรื่

องวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนา ที่

ยั

งไม่ชั

ดเจน

นั้

น เห็

นควรว่

าจะต้

องเน้

น “การพัฒนาวัฒนธรรม” หรือ “การใช้

วั

ฒนธรรมเพื่อ

การพัฒนา” (สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, 2539) ดังนั้

น จึงยากที่จะปฏิเสธได้ว่ามิติทาง

วั

ฒนธรรมมี

ความส�

ำคั

ญกั

บการพั

ฒนาสั

งคมไทยเป็

นอย่

างยิ่

ง จึ

งเป็

นความท้

าทาย

ของนั

กวิจัยวัฒนธรรมที่จะน�ำองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมมาใช้ให้เกิดประโยชน์

และสอดรั

บกั

บสถานการณ์

ทางสั

งคม ที่

เปลี่

ยนแปลงอย่

างรวดเร็

วได้

ในกระแส

โลกาภิ

วั

ตน์

ปั

ญหาต่

างๆ ที่

เกิ

ดขึ้

นไม่

ว่

าจะเป็

นการดูหมิ่

นดูแคลนทางชาติ

พั

นธุ

ที่