Previous Page  167 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 167 / 318 Next Page
Page Background

166

โสวัฒนธรรม

เช่

นเดี

ยวกั

บสาขาวิ

ชาเศรษฐศาสตร์

และรั

ฐศาสตร์

บางสาย จนอาจกล่

าวได้

ว่

แนวทางนี้

ได้กลายเป็นกระแสหลักในการหา/สร้างความรู้ของมนุ

ษย์ไปแล้ว

ปั

จจั

ยที่

ท�

ำให้

วิ

ธี

การทางวิ

ทยาศาสตร์

เติ

บโตและสถาปนาตั

วเองจนกลาย

เป็

นกระแสหลั

กในการหาความรู้

ของสั

งคมมนุ

ษย์

ได้

นั้

นก็

คื

อ การที่

วิ

ทยาศาสตร์

อ้างความเป็นกลางหรื

ออ้างว่าตนปราศจากอคติ

เนื่

องจากเชื่

อว่าสามารถแยกโลก

ที่

ถูกศึ

กษาและผู้

ศึ

กษาออกจากกั

นได้

และผู้

ศึ

กษาก็

มี

ฐานะเป็

นเพี

ยงผู้

สั

งเกตการณ์

ความเป็

นไปของสิ่

งต่

างๆ เท่

านั้

น รวมทั้งการที่

วิ

ทยาศาสตร์

อ้

างว่

าความจริงของ

ตนเป็นสากล สามารถน�ำไปทดลองซ�้ำหรือใช้ได้ในทุกบริบทสังคมวัฒนธรรม เช่น

เดี

ยวกั

บที่

เมื่

อเทน�้

ำแล้

วก็

ย่

อมต้

องไหลจากที่

สูงลงสู่

ที่

ต�่

ำเสมอไม่

วาจะเกิ

ดขึ้

น ณ

ที่

ใดในโลกก็

ตาม

อย่

างไรก็

ดี

ที่

ผ่

านมาวิ

ธี

การหาความรู้

แบบกระแสหลั

กดั

งกล่

าวก็

มี

ข้

อจ�

ำกั

ดอยู่

มาก โดยเฉพาะประเด็

นที่

ว่

า ความเป็

นกลางหรื

อการปราศจากอคติ

ของ

ผู้

ศึ

กษานั้

นไม่

เคยมี

อยู่

จริ

ง มนุ

ษย์

ไม่

เคยศึ

กษาหรื

อเข้

าใจโลกโดยปราศจากอคติ

แต่

กระบวนการนี้

เกิ

ดขึ้

นผ่

านทฤษฎี

กรอบคิ

ด โลกทั

ศน์

หรื

อระบบวั

ฒนธรรม

บางอย่างเสมอ

นอกจากนั้

นการที่

วิ

ธี

การศึ

กษาแบบวิ

ทยาศาสตร์

มั

กอ้

างถึ

งข้

อมูลที่

ยั

งไม่

ผ่

าน

การวิเคราะห์ว่าเป็น “ข้อมูลดิ

บ” นั้

น อั

นที่

จริ

ง “ข้อมูลดิ

บ” ไม่น่าจะเคยมี

อยู่จริ

เนื่

องจากอะไรก็

ตามที่

เรานั

บว่

าเป็

น “ข้

อมูล” ก็

เท่

ากั

บว่

าได้

ผ่

านกรอบคิ

ดหรื

อทฤษฎี

ที่

กลั่

นกรอง คั

ดเลื

อก หรื

อตี

ความมาแล้

วชั้

นหนึ่

งจากผู้

ศึ

กษา ไม่

ว่

าจะเป็

นการกลั่

นกรอง

หรื

อคั

ดเลื

อกว่าอะไรสั

งเกตได้อะไรสั

งเกตไม่ได้ อะไรน่าสนใจ อะไรไม่น่าสนใจ

ขณะเดี

ยวกั

นก็

มี

ข้

อจ�

ำกั

ดอี

กประการที่

ว่

าความจริ

งไม่

ได้

ด�

ำรงอยู่

อย่

างโดดๆ

แต่ด�ำรงอยู่อย่างสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงกันเสมอ ยกตัวอย่างเช่นหน้าปัดนาฬิกาจะ

กลมก็

ต่

อเมื่

อเรามองตรงแบบ 90 องศา แต่

ถ้

าหากมองแบบเอี

ยง/เฉี

ยงหน้

าปั

นาฬิ

กาก็

จะเป็

นวงรี

ดั

งนั้

น ความเป็

นกลางจึ

งไม่

มี

อยู่

จริ

งแต่

จะสั

มพั

ทธ์

กั

บต�

ำแหน่

ของผู้

สังเกตการณ์

ตลอด ตลอดจนข้อจ�

ำกัดที่ว่

าเมื่อวิทยาศาสตร์สถาปนาตัวเอง

ขึ้

นมาแล้

วก็

พยายามจะย่

อทุ

กอย่

างให้

กลายเป็

นสิ่

งที่

สามารถศึ

กษาได้

โดยไม่

เว้