Previous Page  164 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 164 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

163

ส่วนการวิจัยวัฒนธรรมด้านพลังความคิดและภูมิปัญญาที่สัมพันธ์กับกลุ่ม

ชาติพันธุ์ จากการสังเคราะห์งานวิจัยเห็นได้ว่า ภาคตะวันออกเฉี

ยงเหนือมีความ

หลากหลายของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

เป็

นอย่

างมาก ซึ่

งหากนั

บแต่

สื

บเนื่

องจากงานวิ

จั

ทางสั

งคมและวั

ฒนธรรมตั้

งแต่

ยุ

คแรกเริ่

มแล้

วนั้

น ประเด็

นการวิ

จั

ยทางชาติ

พั

นธุ

ในภาคตะวันออกเฉี

ยงเหนือ อาจกล่าวได้ว่า มีองค์ความรู้ด้านพลังความคิดและ

ภูมิ

ปั

ญญาของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

จากงานวิ

จั

ยจ�

ำนวนมาก ซึ่

งงานวิ

จั

ยเกี่

ยวกั

บกลุ

ชาติ

พันธุ์

ในทศวรรษ 2540 ส่

วนใหญ่

เน้

นไปที่การปรั

บตั

วของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ต่

างๆ

การรั

กษา สื

บทอด ผลิ

ตใหม่

ในเชิ

งวั

ฒนธรรม จารี

ตประเพณี

ให้

สอดคล้

องกั

บความ

เปลี่ยนแปลงในชุมชน รวมทั้งแสดงให้เห็นพลังความคิดและภูมิปัญญาที่สามารถ

ปรับใช้วัฒนธรรมให้เป็นทุนทางสังคม หรือทุนทางเศรษฐกิจเข้าสู่

ชุมชน ดังเช่

นที่

ปรากฏในรูปแบบของการจั

ดการท่องเที่

ยวชุ

มชนชาติ

พั

นธุ์ต่างๆ ในภาคตะวั

นออก

เฉี

ยงเหนื

อ ด้วยลั

กษณะของโฮมสเตย์หรื

อการท่องเที่

ยวเชิ

งวั

ฒนธรรม เป็นต้น

อย่

างไรก็

ตาม เป็

นที่

น่

าสั

งเกตว่

า ในทศวรรษที่

ผ่

านมานั้

น งานวิ

จั

ยทาง

วั

ฒนธรรมในภาคตะวั

นออกเฉียงเหนื

อด้

านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญา ได้

ให้

ความส�

ำคั

ญกั

บการศึ

กษาวิ

จั

ยบทบาทสตรี

มากขึ้

น การปรั

บเปลี่

ยนบทบาทผู้

หญิ

งใน

สั

งคมอี

สาน ที่

ปรากฏอยู่

ทุ

กแง่

มุ

มการวิ

จั

ย ไม่

ว่

าจะเป็

นบทบาทผู้

หญิ

งกั

บการพั

ฒนา

ผู้

หญิ

งกั

บขบวนการต่

อสู้

ตอบโต้

ต่

อรอง กั

บความขั

ดแย้

งที่

เกิ

ดจากการพั

ฒนา หรื

การศึ

กษาประเด็

นของเพศสภาพ (gender) ระหว่างชายหญิ

ง ท่ามกลางบริ

บททาง

สั

งคมสมั

ยใหม่

เป็

นต้

น นอกจากนั้

นยั

งมี

การใช้

มุ

มมองใหม่

ๆ ในการศึ

กษาวิ

จั

ยทาง

วั

ฒนธรรมด้านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปัญญาอี

กด้วย เช่น แนวคิ

ดสกุ

ลหลั

งทั

นสมั

(postmodern) ที่

ปรากฏจนเป็

นที่

น่

าสั

งเกต เช่

น แนวคิ

ดอั

ตลั

กษณ์

แนวคิ

ดคน

ชายขอบ แนวคิ

ดวาทกรรม หรื

อแนวคิ

ดคนพลั

ดถิ่

น เป็นต้น

จากที่

กล่

าวมาทั้

งหมดข้

างต้

น เมื่

อพิ

จารณาถึ

งวิ

ธี

วิ

ทยาที่

ใช้

ในการศึ

กษาวิ

จั

ทางวั

ฒนธรรม รวมทั้

งกรอบแนวคิ

ดต่

างๆ แล้

วนั้

น เห็

นได้

ว่

า การวิ

จั

ยทางวั

ฒนธรรม

ในภาคตะวั

นออกเฉี

ยงเหนื

อด้

านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญา ส่

วนใหญ่

ยั

งคงให้

ความส�

ำคั

ญกั

บกระบวนการวิ

จั

ยโดยใช้

วิ

ธี

วิ

ทยาเชิ

งคุ

ณภาพในกระบวนการเก็