Previous Page  166 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 166 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

165

แตกต่าง การกี

ดกั

นคนชายขอบไม่ให้เข้ามาอยู่ในวั

ฒนธรรมหรื

อโครงสร้างสั

งคมที่

คนส่

วนใหญ่

ก�

ำหนดขึ้

น การเบี

ยดขั

บวั

ฒนธรรมย่

อยๆ ให้

แปลกแยกแตกต่

าง ปั

ญหา

ทางวัฒนธรรมมากน้อยที่มีในสังคมไทยจะได้รับการแก้ไขที่ตรงจุด ซึ่งงานวิจัยใน

อนาคตจะสามารถเปิ

ดเผยเรื่

องราวและมี

ข้

อเสนอแนะให้

กั

บการพั

ฒนาสั

งคม

มี

ข้

อเสนอเชิ

งนโยบายทางด้

านสั

งคมและวั

ฒนธรรมที่

สามารถน�

ำไปปฏิ

บั

ติ

ได้

จริ

งต่

อไป

3.6 บทสรุป และข้อเสนอแนะ

“งานวิ

ชาการ” หรื

อ “การวิจั

ย” เป็นศัพท์ที่เพิ่

งพัฒนาขึ้นภายใต้วิธี

คิ

ด/วิ

ธี

การหาความรู้เมื่

อราว 300 ปีก่อน ก่อนหน้านั้

นโลกมนุ

ษย์ไม่ว่าจะเป็นสั

งคมชนเผ่า

หรื

ออื่

นๆ ต่

างมี

วิ

ธี

การหา/สร้

างความรู้

ในรูปแบบที่

หลากหลาย กระทั่

งเมื่

อไม่

นานนี้

มี

การเกิ

ดขึ้

นของลั

ทธิ

“ประจั

กษ์นิ

ยม” (empricism) ซึ่

งมี

แนวคิ

ดส�

ำคั

ญ 2 ประการ

ประการแรกเป็

นการก�ำหนดว่

าสิ่

งที่

นั

บว่

าเป็

น “ความรู้

” ต้

องสามารถสั

มผั

สหรื

อรั

บรู้

ได้ผ่านประสาทสั

มผั

สทั้

งห้าเท่านั้

น นอกเหนื

อจากนี้

ไปก็

จะไม่นั

บว่าเป็น “ความรู้”

ดังนั้

น ความเชื่อเรื่องจิตวิญญาณ ความเชื่อเรื่องผี จึงไม่ถูกนับว่าเป็น “ความรู้”

ทั้

งที่

ก่

อนหน้

านั้

นสั

งคมต่

างๆ ต่

างก็

มี

ความรู้

ในลั

กษณะนี้

เต็

มไปหมด ประการถั

ดมา

เป็

นการแยกระหว่

างโลกแห่

งความจริ

งหรื

อวั

ตถุ

ในการศึ

กษากั

บมนุ

ษย์

ที่

เป็

นผู้

ศึ

กษา

โดยวางมนุ

ษย์

ไว้

ในฐานะผู้

สั

งเกตการณ์

หรื

อผู้

เข้

าไปค้

นพบ/ศึ

กษาสั

จธรรมที่

ด�

ำรงอยู่

แล้

วเท่

านั้

น ประการหลั

งนี้

เป็

นรากฐานที่

รองรั

บการเกิ

ดขึ้

นของวิ

ธี

การหาความรู้

แบบ

วิ

ทยาศาสตร์ในสมั

ยต่อมาหรื

อที่

เรี

ยกว่า “ปฏิ

ฐานนิ

ยม”

ปฏิ

ฐานนิ

ยม (positivism) เป็

นปรั

ชญาสกุ

ลหนึ่

งซึ่

งรองรั

บวิ

ธี

การหาความรู้

แบบ

วิทยาศาสตร์ ตามฐานคิดของประจักษ์นิยมที่มองว่าความรู้มีเท่าที่สามารถสัมผัส

ได้ ปฏิ

ฐานนิ

ยมก็

ได้เสนอว่า ความจริ

งมี

เท่าที่

สามารถพิ

สูจน์หรื

อทดลองได้ด้วยวิธี

การทางวิ

ทยาศาสตร์เท่านั้

น อั

นน�

ำมาสู่การลดทอนโลกของความเป็นจริ

งให้กลาย

เป็

นตั

วเลขหรื

อตั

วแปรที่

สามารถค�

ำนวณได้

ขณะที่

สาขาวิ

ชาต่

างๆ ก็

พยายามศึ

กษา

อย่างเป็นวิ

ทยาศาสตร์โดยเน้นวิธี

การศึ

กษาเชิ

งปริ

มาณ อาทิ

ศาสตร์ในการศึ

กษา

สั

งคมก็

สถาปนาตนเองเป็

นสั

งคมวิ

ทยาที่

มุ

งศึ

กษาสั

งคมอย่

างเป็

นวิ

ทยาศาสตร์