งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
157
ความหมายของการพั
ฒนาโดยอิ
งจากสั
ญลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรมเก่
าและใหม่
กลไกอ�ำนาจรัฐมีอิทธิพลต่อการสร้างความคิดเรื่องการพัฒนาของชาวบ้าน ได้แก่
โรงเรี
ยน หน่วยราชการท้องถิ่
น ส่วนบทความของสมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ข (2546) เรื่
อง
การประเมิ
นความยากจนแบบมี
ส่
วนร่
วมในกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
กะเลิ
งบ้
านทรายแก้
ว
ต�ำบลกุดบาก อ�ำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร งานชิ้นนี้ศึกษาการประเมินความ
ยากจนแบบมี
ส่
วนร่
วม ของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
กะเลิ
ง จั
งหวั
ดสกลนคร โดยใช้
วิ
ธี
การ
สนทนากลุ่
ม พบว่
าความหมายของความยากจนเป็
นมิติทางใจและทางกายภาพ
สาเหตุ
ของความยากจนในทั
ศนะของคนจนคื
อ ด้
านภูมิ
ศาสตร์
ที่
ต้
องอาศั
ยและ
พึ่
งพิ
งธรรมชาติ
ในการเก็
บหาของป่
าและอาหารและด้
านคมนาคมที่
ติ
ดต่
อกั
บ
ภายนอกล�
ำบาก
บทความของอรทั
ย ศรี
ทองธรรม (2541) เรื่
อง วั
ฒนธรรมความเชื่
อหมู่บ้าน
อี
สานในการอนุ
รั
กษ์
ป่
าชุ
มชน กรณี
ศึ
กษา : หมู่
บ้
านในอ�
ำเภอเดชอุ
ดม จั
งหวั
ด
อุ
บลราชธานี
เป็
นงานที่
ศึ
กษาเกี่
ยวกั
บวั
ฒนธรรมความเชื่
อของชาวบ้
านอี
สานที่
มี
ต่
อ
การอนุ
รั
กษ์
ป่
าชุ
มชน การเปลี่
ยนแปลงความเชื่
อและปั
จจั
ยที่
มี
ผลกระทบต่
อความเชื่
อ
การเก็
บข้อมูลได้จากการสั
มภาษณ์ผู้รู้ในชุ
มชน ศึ
กษาบ้านนาดี
ในอ�ำเภอเดชอุ
ดม
จั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
พบว่
า ความเชื่
อและพิ
ธี
กรรมเกี่
ยวกั
บผี
ปู่
ตาและผี
เจ้
านาย
ความเชื่
อเรื่
องป่
าช้
า และความเชื่
อที่
เกี่
ยวข้
องกั
บการใช้
ทรั
พยากรธรรมชาติ
มี
ผลต่
อ
พฤติ
กรรมในการอนุ
รั
กษ์
ป่
าชุ
มชนในรูปการก�
ำหนดเป็
นกฎเกณฑ์
ข้
อห้
าม บทลงโทษ
และก�
ำหนดบทบาทหน้
าที่
ของชาวบ้
านในการอนุ
รั
กษ์
ป่
าชุ
มชน และยั
งมี
อิ
ทธิ
พลต่
อ
วิ
ถี
ชี
วิ
ตก�
ำหนดบรรทั
ดฐานทางสั
งคม ที่
ส�
ำคั
ญคื
อเป็
นที่
ยึ
ดเหนี่
ยวจิ
ตใจของ
ชาวบ้
านในทุกเรื่อง และมีปั
จจัยต่
างๆ เข้
ามาก่อให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงด้
านการ
ประกอบอาชี
พที่
เป็นรายได้หลั
ก โครงสร้างประชากรและความสั
มพั
นธ์ในชุ
มชน
บทความของชอบ ดี
สวนโคกและอุ
ดม บั
วศรี
(2546) เรื่
อง เจ้
าโคตร :
ผู้
เว้
าแล้
วแล้
วโลด งานชิ้
นนี้
ศึ
กษาระบบเจ้
าโคตร ซึ่
งเป็
นระบบดั้
งเดิ
มที่
ถื
อเป็
นระบบ
หรื
อกฎที่
ส�
ำคั
ญต่อสั
งคมอี
สาน เจ้าโคตร : การจั
ดการความขั
ดแย้ง ในวั
ฒนธรรม
อี
สาน เป็
นระบบที่
ทุ
กคนได้
ถื
อเป็
นระบบในฐานะเป็
นสถาบั
น สถาบั
นเจ้
าโคตร