Previous Page  153 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 153 / 318 Next Page
Page Background

152

โสวัฒนธรรม

เศรษฐกิจและสังคม กลายมาเป็นระบบเศรษฐกิจเพื่อการค้ามากขึ้น และมีความ

เป็

นอยู่

แบบยุ

งยากมากขึ้

น มี

พื้

นที่

ท�

ำการเกษตรลดลง เป็

นผลต่

อเนื่

องในด้

าน

ผลกระทบต่

ออาชี

พของประชาชน และบทความของมณี

มั

ย ทองอยู่

(2547)

เรื่

อง ยุ

ทธศาสตร์

เพื่

อการอยู่

รอดและทุ

นทางสั

งคมของชาวนาอี

สาน ได้

ศึ

กษาถึ

ยุ

ทธศาสตร์

เพื่

อการอยู่

รอดและทุ

นทางสั

งคมของชาวนาอี

สาน พบว่

า การแทรกตั

ของระบบทุ

นนิ

ยมเข้

าสู่

เศรษฐกิ

จชาวนานั้น ท�

ำให้

ชาวนาต้

องเผชิ

ญความเสี่

ยง

เพิ่

มขึ้

ดั

งนั้

น ชาวนาอี

สานจึ

งได้

พั

ฒนายุ

ทธศาสตร์

เพื่

อการอยู่

รอดของครั

วเรื

อนขึ้

ยุ

ทธศาสตร์

ที่

ส�

ำคั

ญคื

อ การผลิ

ตเพื่

อการบริ

โภคภายในครอบครั

วไปพร้

อมๆ กั

การผลิ

ตเพื่

อการค้

า การแตกกิ

จกรรมทางเศรษฐกิ

จของครั

วเรื

อนออกไปอย่

าง

หลากหลาย ทั้

งนอกไร่นาและนอกภาคการเกษตร โดยเฉพาะการไปท�

ำงานรั

บจ้าง

ต่างถิ่

น การพยายามรั

กษาที่

ดิ

นเพื่

อการเกษตรของครอบครั

วไว้ การรั

กษาบทบาท

ของครอบครัวในฐานะเป็นหน่วยในการจัดสรรแรงงานและทรัพยากรที่หาได้ และ

หนั

งสื

อของมณี

มั

ย ทองอยู่

(2546)

เรื่

อง

การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจชาวนา

อีสาน

ได้

อธิ

บายถึ

งกระบวนการเปลี่

ยนแปลงเศรษฐกิ

จของชาวนาในภาคตะวั

นออก

เฉี

ยงเหนือของไทย การปรับตัวของชาวนาในชุมชนและครัวเรือนต่อทุนนิยม และ

ประเมิ

นถึ

งผลกระทบของการปรั

บตั

ว พบว่

า การเปลี่

ยนแปลงของชาวนามี

รูปแบบที่

แตกต่างกั

น 3 แบบ คื

อ ชาวนาส่วนหนึ่

งสามารถพั

ฒนากิ

จการลงทุ

นเพื่

อผลก�

ำไร

เป็

นผู้

ประกอบการได้

อี

กส่

วนก่

อตั

วขึ้

นในเขตชลประทานพั

ฒนาในการเกษตร และ

แบบที่

ผลิ

ตและมี

รายได้ไม่เพี

ยงพอต่อการด�

ำรงชี

พ แต่มี

ลั

กษณะร่วมที่

ส�

ำคั

ญ เช่น

ยังคงอยู่

ของการผลิตข้

าว และพยายามรั

กษาที่ดิ

นเพื่

อการเกษตรไว้

การแตกตั

ของกิ

จกรรมเศรษฐกิ

จจากการเกษตรไปสู่

การรั

บจ้

างนอกภาคเกษตร มี

การโยกย้

าย

แรงงานบางส่

วนไปรั

บจ้

างต่

างถิ่

น ทั้

งนี้

การพั

ฒนาแบบทุ

นนิ

ยมโดยการชั

กน�

ำของรั

ในภาคอี

สาน ก่อให้เกิ

ดการแตกตั

วและแตกขั้

วในชนบทเชื่

องช้ามาก

ส่วนบทความของประนุ

ช ทรัพยาสารและประทวน บุญปรก (2544) เรื่อง