156
โสวัฒนธรรม
ชาวชนบทที่
ได้รั
บผลกระทบจากโครงการพั
ฒนาของรั
ฐ : กรณี
ศึ
กษาเขื่
อนปากมูล
มี
วั
ตถุ
ประสงค์
เพื่
ออธิ
บายกระบวนการปรั
บวั
ฒนธรรมในการด�ำเนิ
นชี
วิ
ตของชาว
ชุ
มชนลุ
่
มน�้
ำมูลที่
ได้
รั
บผลกระทบจากเขื่
อนปากมูล รวมทั้
งอธิ
บายความสั
มพั
นธ์
ระหว่างบริบทของครัวเรือน ชุมชนและวิธีการท�ำงานของรัฐที่ส่งผลต่อการปรับตัว
และการโต้กลับของผู้
ได้
รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น วิธีการศึกษา
คื
อ การวิ
จั
ยเชิ
งคุ
ณภาพ พื้
นที่
ศึ
กษาคื
อชุ
มชนลุ่
มน�้
ำมูล 3 หมู่
บ้
านที่
ได้
รั
บผลกระทบ
จากเขื่
อนปากมูล พบว่
า การสร้
างเขื่
อนปากมูลส่
งผลกระทบต่
อระบบนิ
เวศน์
ของลุ
่
มน�้
ำ
ซึ่
งการเปลี่
ยนแปลงที่
เกิ
ดขึ้
นท�
ำให้ชุ
มชนต้องปรั
บตัวในหลายด้าน คื
อ การโยกย้าย
ชุ
มชนและบ้
านเรื
อน การผลิ
ตของครั
วเรื
อน ทั้
งเพื่
อบริ
โภคและเพื่
อสร้
างรายได้
ความสั
มพั
นธ์
ทางสั
งคม และงานวิ
จั
ยของฤทธิ์
ชั
ย ภูตะวั
น, ทวี
หอมหวนและ
ปราณี
มั
คศนั
นท์ (2546) เรื่
อง ชะตากรรมชาวนาไทยในภาคอี
สาน พบว่า อาชี
พ
เกษตรกรรมส่
วนใหญ่
เป็
นเกษตรกรรายย่
อย การท�
ำนาเป็
นอาชี
พหลั
ก เมื่
อการ
ท�
ำนาในปั
จจุ
บั
นมี
ลั
กษณะต้
องใช้
ต้
นทุ
นสูงต้
องพึ่
งพาธรรมชาติ
ผลผลิ
ตราคาที่
ขาย
ได้
ไม่
คุ้
มกั
บต้
นทุ
น ท�
ำให้
ชาวนาขาดทุ
น ชาวนาส่
วนใหญ่
คิ
ดว่
า คนจนคื
อคนไม่
มี
เงิ
น
มี
หนี้
สิ
น ไม่
พอกิ
น ไม่
พออยาก หาเช้
ากิ
นค�่
ำ อยู่
ไปลมๆ แล้
งๆ เมื่
อโครงการก่
อสร้
าง
ฝายราศี
ไศล การสูญเสี
ยที่
ท�
ำกิ
นทวี
ความรุ
นแรงขึ้
น เกิ
ดน�้
ำท่
วมนาทามที่
สาธารณะ
ส�
ำหรั
บท�
ำนาของชาวบ้
าน จึ
งไม่
สามารถท�
ำการผลิ
ตข้
าวได้
ท�
ำให้
เกิ
ดความทุ
กข์
ยาก
และบทความของรัตนา โตสกุ
ล (2541) เรื่
อง ความหมายของการพั
ฒนาในสายตา
ของชาวบ้
านภาคอี
สาน : มิ
ติ
ทางมานุ
ษยวิ
ทยา งานชิ้
นนี้
ศึ
กษาผลสรุ
ปการให้
ความหมายด้านการพั
ฒนาของชาวบ้านชาติ
พั
นธุ์ไท-ลาว 2 หมู่บ้านในภาคอี
สาน
หลั
งจากที่
เข้
ารับการพั
ฒนาของภาครัฐมาตั้
งแต่
ทศวรรษ 1960 พบว่
า ขณะที่
รั
ฐ
ของไทยมี
บทบาทความรั
บผิ
ดชอบหลั
กในการเสนอแนวคิ
ด และนโยบายการพั
ฒนา
ประเทศชาติ
แต่
ชาวบ้
านไม่
ได้
สะท้
อนถึ
งการยอมรั
บ โดยปราศจากการตั้
งค�
ำถามต่
อ
แนวคิ
ดและนโยบายการพั
ฒนา ดั
งนั้
นการพั
ฒนาจึ
งเป็
นพื้
นที่
หนึ่
งทางวั
ฒนธรรม
ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความหมายซึ่งประกอบด้วย ความร่วมมือ การโต้แย้งและ
การท้
าทายกั
บแนวคิ
ดการพั
ฒนาที่
เป็
นกระแสหลั
ก โดยส่
วนใหญ่
ชาวบ้
านสร้
าง