งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
143
ขาดโอกาสมี
ส่
วนร่
วมในชุ
มชน การเข้
าถึ
งและควบคุ
มทรั
พยากรต่
างๆ รวมถึ
งข้
อมูล
ข่าวสารผู้หญิง
เช่
นเดี
ยวกั
บบทความของบั
วพั
นธ์
พรหมพั
กพิ
ง (2542) เป็
นเรื่
องความสั
มพั
นธ์
หญิ
งชายและสิ
ทธิทางทรั
พย์สินในสังคมชนบทอี
สาน ได้ศึกษาความสั
มพันธ์หญิ
ง
ชายและสิทธิทางทรัพย์สินในสังคมชนบทอีสาน ผลการศึกษาพบว่า การควบคุม
ก�
ำกั
บทรั
พย์
สิ
นโดยเฉพาะที่
ดิ
นในสั
งคมอี
สานดั้
งเดิ
มไม่
มี
ข้
อกี
ดกั
นส�ำหรั
บผู้
หญิ
ง
ประเพณีดั
งกล่
าวตกทอดมาถึ
งปั
จจุ
บั
นแต่
ระบบเศรษฐกิ
จแบบทุ
นนิ
ยมและการ
แทรกแซงของรั
ฐท�
ำให้สถานะของผู้หญิ
งเปลี่
ยนไป หน่วยครั
วเรื
อนถูกผนวกเข้ากั
บ
ระบบเศรษฐกิ
จแบบทุ
นนิ
ยมท�ำให้
เกิ
ดการอพยพแรงงาน แรงงานรั
บจ้
างทั้
งหญิ
ง
ชาย สามี
จะไปท�
ำงานในภาคเศรษฐกิ
จสมั
ยใหม่
ส่
วนภรรยาจะรั
บผิ
ดชอบงานบ้
าน
อยู่ในชนบท
นอกจากนี้
บทความของพั
ชริ
นทร์ ลาภานั
นท์ (2547) เรื่
อง ผู้หญิ
งชนบทกั
บ
ขบวนการเคลื่
อนไหวสิ่
งแวดล้
อม : วิ
ธี
คิ
ดและ “พื้
นที่
การต่
อสู้
” เป็
นงานที่
ศึ
กษาเกี่
ยว
กั
บผู้หญิ
งที่
เข้าร่วมในขบวนการเคลื่
อนไหวทางสิ่
งแวดล้อม พบว่า การเข้ามาร่วม
ในขบวนการนี้
ท�ำให้ผู้หญิงมีมุมมองต่อรัฐและสังคมในเชิงวิพากษ์มากขึ้น ขณะที่
การมี
บทบาทเชิ
งรุ
กในเวที
สาธารณะ ผู้
หญิ
งเหล่
านี้ต้
องเผชิ
ญกั
บแรงเสี
ยดทาน
ของครอบครั
วและชุ
มชน ผู้หญิงเหล่านี้
ต่างมองว่าความต่างระหว่างหญิ
งชายเป็น
ความต่
างที่
เกื้
อกูลกั
นและต่
างก็
มี
ความส�ำคั
ญต่
อขบวนการเคลื่
อนไหวทางสั
งคม
ทั้
งสิ้
น ส่วนงานวิ
จั
ยของจรัญญา วงษ์พรหม (2541) เรื่
อง ผู้หญิ
งอี
สาน : ทางเลื
อก
ศั
กยภาพและแนวทางการพั
ฒนา : รวมบทความและบทวิ
เคราะห์
ประสบการณ์
และความรู้เกี่ยวกับผู้หญิง ในงานชิ้นนี้ ศึกษาเกี่ยวกับผู้หญิงในสังคมอีสานที่มัก
ประสบชะตากรรมเอาเปรี
ยบทางเพศในรูปแบบต่างๆ เสมอ แต่ก็
มี
พลั
งความแกร่ง
ที่
แอบแฝงอยู่และเผยแพร่ให้เห็
นจากการสืบทอดทางวัฒนธรรม ผู้หญิงอี
สานยังมี
บทบาทในกระบวนการเปลี่
ยนแปลงทางเศรษฐกิ
จ และสั
งคมของภูมิ
ภาค และ
เศรษฐกิ
จของไทย ทั้
งในบทบาทเดิ
มในภาคเกษตรกรรมไปถึ
งบทบาทใหม่
ๆ ในภาค
อุตสาหกรรม และควรสนับสนุ
นสร้างจิตส�
ำนึ
ก ความภาคภูมิใจของผู้หญิงอีสาน
เพื่
อพั
ฒนาศั
กยภาพที่
เป็นเอกลั
กษณ์ของท้องถิ่
น