140
โสวัฒนธรรม
ขอนแก่นมีเงื่อนไขที่เป็นตัวเอื้อให้เกิดการก่อร่างสร้างเมือง มีความแตกต่างกันไป
ตามยุ
คตามสมั
ยซึ่
งการเปลี่
ยนแปลงสภาพกายภาพที่
ห่
อหุ
้
มคนท�
ำให้
ชี
วิ
ตคนเปลี่
ยน
ไปด้
วย แต่
ความสุ
ขแบบชี
วิ
ตคนเมื
องนั้
นเป็
นสิ่
งที่
คนเมื
องต้
องคิ
ด ตั้
งหลั
กหาทางคิ
ด
สร้
างความสุขแบบที่
เป็
นตัวเอง 2) ลักษณะเฉพาะที่
เป็
นเอกลั
กษณ์
ของเมื
องและ
ควรค่าแก่การอนุ
รั
กษ์ สภาพของเมื
องอั
นได้แก่ ภูมิ
สั
ญลั
กษณ์ ย่านชุ
มชน เป็นต้น
3) การพั
ฒนาสภาพแวดล้อมเมื
องจ�
ำเป็นต้องรู้และเข้าใจรากเหง้าของเมื
อง
ส่
วนงานวิ
จั
ยของเขมิ
กา หวั
งสุ
ข (2543) เรื่
อง พั
ฒนาการทางวั
ฒนธรรม
ในลุ
่
มแม่
น�้
ำมูล : กรณี
ศึ
กษาแหล่
งโบราณคดี
เมื
องเสมา อ�
ำเภอสูงเนิ
น จั
งหวั
ด
นครราชสีมา การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณ
ในบริ
เวณลุ
่
มแม่
น�้ำมูลโดยท�ำการศึ
กษาแหล่
งโบราณคดี
เมื
องเสมา อ�
ำเภอสูงเนิ
น
จั
งหวั
ดนครราชสี
มา เพื่
อทราบถึ
งพั
ฒนาการทางวั
ฒนธรรมของชุ
มชนโบราณ
เมืองเสมา ต�
ำบลเสมา อ�ำเภอสูงเนิ
น จั
งหวั
ดนครราชสี
มา ส�
ำรวจชุ
มชนโบราณ
ในบริ
เวณลุ
่
มแม่
น�้ำมูล ชุ
มชนโบราณที่
แหล่
งโบราณคดี
เมื
องเสมาปรากฏร่
องรอย
การอยู่
อาศั
ย 2 ระยะด้
วยกั
นคื
อ ตั้
งแต่
สมั
ยแรกเริ่
มประวั
ติ
ศาสตร์
(ราวพุ
ทธศตวรรษ
ที่
10-11) ประวั
ติ
ศาสตร์ที่
อาศั
ยอยู่ในบริ
เวณลุ่มแม่น�้ำมูล โดยเฉพาะลุ่มแม่น�้ำมูล
ตอนบนและตอนกลาง
นอกจากนี้งานวิ
จั
ยของดารารั
ตน์
เมตตาริ
กานนท์
(2543) เกี่
ยวกั
บการ
พั
ฒนาการทางประวั
ติ
ศาสตร์
ของ “ท้
องถิ่
นนิ
ยม” และภูมิ
ภาค งานชิ้
นนี้
ศึ
กษาเกี่
ยวกั
บ
ประวั
ติ
ศาสตร์
อี
สาน โดยการต้
องการขยายมุ
มมองทางประวั
ติ
ศาสตร์
อี
สานให้
หลากหลายมากยิ่
งขึ้
น โดยเนื้
อหาภายในจะกล่าวถึ
งที่
มาของค�
ำว่า “ท้องถิ่
นนิ
ยม”
และ “ภูมิ
ภาคนิ
ยม” สภาพภูมิ
ศาสตร์
-ทรั
พยากรและคมนาคมที่
มี
ผลต่
อพั
ฒนาการ
ทางประวั
ติ
ศาสตร์
อี
สาน พั
ฒนาการทางประวั
ติ
ศาสตร์
ลาว-อี
สาน และภูมิ
หลั
ง
ของคนอีสาน การเข้ามาของรัฐส่วนกลาง กรุงเทพฯกับการสร้างความหมายของ
“ท้องถิ่
นนิ
ยม” และ “ภูมิ
ภาคนิ
ยม” ความพยายามรวมลาว “กรณี
เหตุ
การณ์เจ้า
อนุ
วงศ์” :ส�
ำนึ
กในกลุ่มท้องถิ่
นนิ
ยม การขยายตั
วของรั
ฐ ส่วนกลางกรุ
งเทพฯ ช่วง
พ.ศ.2435 และการแสดงออกของพลั
งในท้องถิ่
นกั
บการสร้างส�
ำนึ
ก “ท้องถิ่
นนิ
ยม”