134
โสวัฒนธรรม
วิ
ธี
การที่
ดี
ในการผลิ
ตเครื่
องส�
ำอางว่
าด้
วยสุ
ขลั
กษณะทั่
วไป ประเมิ
นกระบวนการผลิ
ต
นอกจากนี้
งานวิจัยของสุมนา ศรีชลาลัย และคณะ (2545) เรื่อง ผญาในมิติของ
การดูแลส่
งเสริ
มสุ
ขภาพจิ
ต มี
วั
ตถุ
ประสงค์
เพื่
อศึ
กษาเนื้
อหาของผญา ที่
มี
ความ
สอดคล้องกับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพจิตในด้านความฉลาดทางอารมณ์ โดย
ด�
ำเนิ
นการเก็
บข้อมูลจาก 3 ส่วนคื
อ จากเอกสาร จากภูมิ
ปัญญาท้องถิ่
น และจาก
ประชาชนในพื้
นที่
สาธารณสุ
ขเขต 7 ผลการศึ
กษาพบว่
า มี
ผญาที่
สอดคล้
องกั
บ
แนวคิ
ดความฉลาดทางอารมณ์องค์ประกอบดี 198 คน องค์ประกอบเก่ง 167 คน
องค์ประกอบ “สุข” 106 คน และนั
กปราชญ์ และประชาชน ใช้ผญาส่งเสริมสุข
ภาพจิ
ตด้านอารมณ์มากที่
สุ
ด
นอกจากนี้
ทรรศตวรรณ เดชมาลา (2541) ได้ศึกษา หมอน�้
ำมันงากับการ
รักษาโรคของชาวบ้
านหัวขวาง อ�
ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ได้
ศึกษา
องค์ประกอบและขั้นตอนการรักษาผู้ป่วยด้วยน�้
ำมันงา และศึกษาคติความเชื่อใน
การรั
กษา พบว่าเมื่
อชาวบ้านเจ็
บไข้ได้ป่วย หมอน�้
ำมั
นงายั
งเป็นที่
นิ
ยม โดยเฉพาะ
เมื่
อเกิ
ดอุ
บั
ติ
เหตุ
เชื่
อว่
าสามารถรั
กษาได้
ดี
กว่
าโรงพยาบาล และเชื่
อว่
าหมอน�้
ำมั
นงา
สามารถรั
กษาแผลไม่
ให้
เกิ
ดการอั
กเสบได้
ทั้
งยั
งสามารถประสานกระดูกได้
เร็
ว และ
มี
ชั
ย จริ
ยะนรวิ
ชช์
(2543) เรื่
อง ภูมิ
ปั
ญญาของหมอพื้
นบ้
านในการรั
กษาโรคกระดูก
ศึ
กษากรณี
อ�
ำเภอเมื
อง จั
งหวั
ดมหาสารคาม งานชิ้
นนี้
ศึ
กษาองค์ประกอบ วิ
ธี
การ
ขั้
นตอน และแนวความคิ
ด ความเชื่
อในการรั
กษาโรคกระดูกของหมอพื้
นบ้
าน ในเขต
อ�
ำเภอเมื
อง จั
งหวั
ดมหาสารคาม โดยพบว่าฐานคิ
ดในเรื่
องการรั
กษาคื
อ การรั
กษา
ผู้
ป่
วยทั้
งทางด้
านร่
างกาย จิ
ตใจ แวดล้
อมอยู่
ในบริ
บทของสั
งคมท้
องถิ่
น การรั
กษาโดย
การดามด้วยเฝือกไม้ไผ่ การใช้น�้
ำมั
นงาทาชโลมรั
กษา บ�
ำรุ
งเชื่
อมประสานกระดูก
การจั
ดดึ
งกระดูกที่
หั
กให้
เข้
าที่
ก่
อนการบ�
ำบั
ดรั
กษา การใช้
ยาบรรเทาอาการปวดหรื
อ
อั
กเสบ และการแนะน�
ำให้
ผู้
ป่
วยท�
ำกายภาพบ�
ำบั
ดอย่
างง่
าย ความเชื่
ออื่
นๆ และการ
งดเว้นพฤติ
กรรมบางอย่าง ซึ่
งล้วนแล้วแต่ส่งผลให้การรั
กษาโรคกระดูกหั
กได้ผลดี
เช่
นเดี
ยวกั
บบทความของเมขลา สอนสุ
ภี
(2540) เรื่
อง เป็
นบทความเกี่
ยวกั
บ
ผี
ฟ้า พบว่า “ผี
ฟ้า” เป็นหมอรั
กษาคนป่วย ซึ่
งชาวบ้านจะเรี
ยกง่ายๆ ว่า หมอล�ำ