Previous Page  134 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 134 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

133

ในการรั

กษาโรคที่

สื

บทอดมาแต่

โบราณโดยหมอพื้

นบ้

านที่

เชี่

ยวชาญในหลายๆ ด้

าน

หมอสมุนไพรหรือหมอรากไม้ หมอนวดหรือหมอเย็น หมอกระดูกหรือหมอน�้

ำมัน

ตัวยาที่ส�ำคัญของน�้ำมันรักษาโรคกระดูก คือ หัวไพล บอระเพ็ด ชันสีห์หรือจุนสี

สีเสียดเลือด พิมเสน การบูร มะพร้าวสด น�้ำมันมะพร้าว น�้ำมันงา น�ำส่วนผสม

ทั้

งหมดมาต้

มและเคี่

ยวจนข้

น กรองด้

วยผ้

าขาวบางเอาเฉพาะน�้

ำ น�

ำมาเคี่

ยวอี

กครั้

หมอน�้

ำมั

นจะจั

บกระดูกจั

บเส้

นเอ็

นจนเข้

าที่

พร้

อมทั้

งทาน�้

ำมั

นและเป่

ามนต์

คาถา

และบทความของวลี

ลื

อประเสริ

ฐ (2541) เรื่

อง หม้อคราม การกลั

บฟื้นคื

นชี

พใหม่

ที่

บ้

านนาดี

สกลนคร ภูมิ

ปั

ญญาด้

านเทคโนโลยี

ชี

วภาพของชนบทไทย เป็

นบทความ

ที่

เกี่

ยวกั

บหม้

อคราม การกลั

บฟื้

นคื

นชี

พใหม่

ที่

บ้

านนาดี

สกลนคร กล่

าวว่

า สุ

ดยอด

แห่

งศิ

ลปะและศาสตร์

การทอผ้

าฝ้

ายย้

อมสี

ครามนั้

น สิ่

งส�

ำคั

ญคื

อ การก่

อหม้

อคราม

สี

จากต้

นคราม สี

น�้

ำเงิ

นที่

เกาะติ

ดใยฝ้

ายที่

ถั

กทอขึ้

นอย่

างประณี

ตด้

วยฝี

มื

อของ

ชาวบ้

านและด้

วยเทคโนโลยี

ที่

ตกทอดกั

นมาหลายชั่

วอายุ

คนนั้

นเป็

นที่

นิ

ยมอย่

าง

กว้างขวางในหมู่คนไทยที่มีรสนิยมและชาวต่างชาติ เช่น ชาวญี่ปุ่นและชาวยุโรป

การย้

อมให้

มี

คุ

ณภาพดี

สี

เข้

มที่

ออกเฉดได้

หลากหลาย และมี

สี

ที่

ไม่

ตกซี

ด เป็

ความลับที่ตกทอดมาจนปัจจุบันและเกือบจะสูญหายไปจากหมู่บ้านเชิงเขาภูพาน

ด้านอ�

ำเภอพรรณนานิ

คม

งานวิ

จั

ยของหาญชั

ย อั

มภาผล (2545) เรื่

อง การศึ

กษากลยุ

ทธ์เพื่

อยกระดั

ภูมิ

ปั

ญญาท้

องถิ่

น : กรณี

ศึ

กษาสมุ

นไพรนวดหน้

า นวดผิ

วเนี

ยน บ้

านระกาใต้

ต�

ำบล

บ้านปรือ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยการวิจัยมีวัตถุประสงค์จะศึกษากระบวนการพัฒนา

เครื่

องส�

ำอางสมุ

นไพรนวดหน้

า นวดผิ

วเนี

ยน การบริ

หารจั

ดการ การผลิ

ตและ

จ�ำหน่าย การน�ำกลยุทธ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ในกระบวนการผลิต

และศึ

กษาปั

จจั

ยแห่

งความส�

ำเร็

จของเครื่

องส�

ำอางสมุ

นไพรในกลุ

มสตรี

บ้

านระกาใต้

อ�

ำเภอกระสั

ง จั

งหวั

ดบุ

รี

รั

มย์ ผลการวิ

จั

ยพบว่า ภูมิ

ปัญญา เครื่

องส�

ำอางสมุ

นไพร

นวดหน้

า นวดผิ

วเนี

ยน เป็

นวิ

ธี

การด�

ำเนิ

นชี

วิ

ต และกระบวนการเรี

ยนรู้

ของชาวบ้

าน

การปรั

บเปลี่

ยน การสร้

างความรู้

เกิ

ดเป็

นแนวคิ

ดทฤษฎี

กระบวนการพั

ฒนา

เครื่

องส�

ำอางสมุ

นไพร ประกอบด้

วยตั

วบ่

งชี้

ได้

แก่

การอบรมเรื่

องหลั

กเกณฑ์