Previous Page  127 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 127 / 318 Next Page
Page Background

126

โสวัฒนธรรม

ส�

ำหรั

บสุ

ภาวดี

ตุ้มเงิ

น (2538) ได้ศึ

กษาการทอผ้าแพรวาที่

บ้านโพน อ�

ำเภอ

ม่วง จั

งหวั

ดกาฬสิ

นธุ์ พบว่า การทอผ้าแพรวาที่

บ้านโพนทั้

งหมดมี

ผู้หญิ

งท�

ำหน้าที่

เป็นผู้ทอ และยังใช้วิธีการทอแบบดั้งเดิมที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ โดยมีล�

ำดับ

ขั้

นตอนที่

ส�

ำคั

ญอยู่สามประการ คื

อ การเตรี

ยมเส้นใย การทอเส้นใยเข้าเป็นผื

นผ้า

และการทอประดิษฐ์

ลวดลาย ทางด้

านความเชื่อของชาวบ้

านโพนนั้

นเชื่อว่

า การ

ทอผ้

าแพรวาคื

อกระบวนการท�ำงานที่

ช่

วยฝึ

กฝนลูกผู้

หญิ

งให้

มี

คุ

ณสมบั

ติ

ของความ

เป็

นกุ

ลสตรี

ได้

อย่

างเหมาะสม ส่

วนลวดลายที่

ปรากฏบนผื

นผ้

าแพรวาล้

วนแต่

มี

ความหมายที่

เกี่

ยวข้องในเรื่

องความเป็นสิ

ริ

มงคลทั้

งสิ้

ส�

ำหรั

บวั

ชริ

นทร์

ศรี

รั

กษาและคณะ (2538) ได้

ศึ

กษาเทคนิ

คการผลิ

ตหมอนขิ

แบบครบวงจรของหมู่

บ้

านศรี

ฐาน อ�

ำเภอป่

าติ้

ว จั

งหวั

ดยโสธร พบว่

า การท�

หมอนขิดของหมู่บ้านศรีฐาน เป็นการพัฒนาจากเดิมที่บรรพบุรุษได้ท�ำไว้ใช้เองใน

ครอบครั

วแล้

วปรั

บปรุ

งการท�

ำมาเพื่

อใช้

ส�

ำหรั

บถวายพระ เพื่

อใช้

ในเทศกาลงาน

บุญประเพณี

ต่างๆ และโอกาสต่

างๆ จากนั้

นก็พัฒนาเป็นกิจกรรมในครัวเรือนขึ้น

มีการท�ำกันแทบทุกครัวเรือน การท�ำใช้ในครัวเรือนและใช้ในหมู่บ้าน จนไปสู่การ

ผลิตเพื่อการค้า และบทความของจรัญญา วงษ์พรหม (2542) เรื่อง แรงงานสตรี

อี

สาน การรั

บช่

วงการผลิ

ตของอุ

ตสาหกรรมดอกไม้

ประดิ

ษฐ์

พบว่

า งานรั

บช่

วงการ

ผลิ

ตเกิ

ดขึ้

นตามกระแสของการค้

าเสรี

ในระบบเศรษฐกิ

จทุ

นนิ

ยมซึ่

งผลั

กดั

นให้

เข้

าสู่

การแข่

งขั

นในตลาดโลก ไม่

ได้

เกิ

ดขึ้

นโดยธรรมชาติ

ของการจ้

างงาน แต่

เกิ

ดจากความ

พยายามลดต้นทุ

นการผลิ

ตของโรงงาน ประกอบกั

บสภาพชนบทในปัจจุ

บั

น ที่

เอื้

ต่

อการรั

บงานตามระบบนี้

การติดต่

อการจ้

างท�ำงานเป็

นไปในลั

กษณะของความ

สั

มพั

นธ์

ส่

วนตั

วระบบเครื

อญาติ

และเพื่

อนบ้

านใกล้

ชิ

ดก่

อน สภาพชุ

มชนและสภาพ

ทางเศรษฐกิ

จของผู้

เป็

นแรงงานรั

บช่

วงช่

าง มี

ส่

วนส�

ำคั

ญต่

อการรั

บงาน เวลาในการ

ท�

ำงาน รายได้ ตลอดจนผลกระทบทางด้านสุ

ขภาพซึ่

งแรงงานผู้รั

บช่วงเป็นผู้หญิ

และส่วนใหญ่มี

ครอบครั

วแล้ว

นอกจากนี้

บทความของสุ

จิ

ตรา ขั

นตี

ชู (2540) เรื่

อง ครกหิ

น พบว่า “ครก”

เป็

นผลิ

ตภั

ณฑ์

อี

กอย่

างหนึ่

งที่

ท�

ำมาจากหิ

น ซึ่

งคนท�

ำต้

องท�

ำอย่

างประณี

ตและต้

องใช้