Previous Page  125 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 125 / 318 Next Page
Page Background

124

โสวัฒนธรรม

และการทอผ้

าไหมมั

ดหมี่

ยั

งมี

การสื

บทอดวั

ฒนธรรม โดยเห็

นความสั

มพั

นธ์

กั

วิ

ถี

ชี

วิ

ต มี

การแบ่

งงานกั

นท�

ำในครั

วเรื

อน นอกจากนั้

น ยั

งเป็

นผลงานที่

แสดงถึ

งลั

กษณะ

นิ

สั

ยที่

ประณี

ต และเรี

ยบ รั

ชสมบั

ติ

(2542) ได้

ศึ

กษาเห็

ดกั

บวิ

ถี

ชี

วิ

ตของชาวบ้

าน

หัวหนอง ต�ำบลดอนหว่

าน อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม พบว่า แหล่งที่มา

ของเห็ดมี 2 แหล่ง คือ เกิดตามพุ่มไม้ที่ผุพัง และเห็ดที่เกิดตามพื้นดินทั้งบริเวณ

พื้นหญ้าและป่าโคก เห็ดกับวิถีชีวิตชาวบ้านมีความเกี่ยวข้องกันทั้งในด้านอาหาร

และด้

านเศรษฐกิ

จ จนต่

อมามี

แนวคิ

ดเกี่

ยวกั

บเศรษฐกิ

จพื้

นบ้

านมี

การรวมตั

วกั

เพื่

อขายเห็

ด ซึ่

งจั

ดในรูปแบบตลาดขายเห็

ดในฤดูฝน

นอกจากนี้

บุ

ญรอด ศิ

ริ

ทอง (2542) ได้

ศึ

กษาการสานฝาบ้

านอุ

ดม ต�

ำบล

หนองไผ่ อ�

ำเภอธวั

ชบุ

รี

จั

งหวั

ดร้อยเอ็

ด พบว่า แรงจูงใจในการประกอบอาชี

พคื

ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้น แรงงานมีประสบการณ์ได้รับการถ่ายทอดความรู้มาจาก

บรรพบุ

รุ

ษ วั

สดุ

เป็นไม้ไผ่หาง่ายในท้องถิ่

น การสานบ้านมี

2 ลาย คื

อ ลายคุ

บและ

ลายสาม สภาพการเปลี่

ยนแปลงทางเศรษฐกิ

จและสั

งคม ชาวบ้านมี

รายได้

หนี้

สิ

ลดลง มี

เงิ

นออมมากขึ้

ส�ำหรับพวงพะยอม เหรียญทอง (2541) ได้ศึกษาการประกอบอาชีพแบบ

พึ่

งพาตนเองของเกษตรกร พบว่

า เกษตรกรมี

ปั

ญหาด้

านการประกอบอาชี

ที่

ส�

ำคั

ญคื

อทุ

นไม่

เพี

ยงพอ ขาดการรวมกลุ

มอาชี

พ ผลผลิ

ตราคาต�่

ำ ขาดการ

สนั

บสนุ

นจากนั

กวิ

ชาการภาครั

ฐและเอกชน เกษตรกรมี

ความต้

องการประกอบ

อาชี

พด้

านการปลูกผั

กปลอดสารพิ

ษ เลี้

ยงไก่

พื้

นเมื

อง ทอผ้

า และแปรรูปเกษตร

การจั

ดกิ

จกรรมแทรกแซงท�

ำให้

เกษตรกรมี

ความรู้

ในการประกอบอาชี

พแบบ

พึ่

งตนเองดี

ขึ้

น มี

แนวโน้

มที่

จะพึ่

งตนเองในด้

านต่

างๆ มากขึ้

น ลั

กษณะอาชี

พที่

มี

แนวโน้มพึ่

งตนเองได้มากกว่าอย่างอื่

นคื

อ การปลูกผั

กปลอดสารพิ

บทความของ เกษม คนไว (2546) เรื่อง เฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน : ทางออกหนี้สิน

ของชุมชนใน ได้ศึกษาเกี่ยวกับวิถีชีวิต วิธีคิดเกี่ยวกับการท�

ำมาหากิน การใช้หนี้

สินของคนอีสาน จากความคิดของพ่อเล็ก กุดวงศ์แก้ว พบว่า การที่ชาวอีสานมี

หนี้สินมากมายในสังคมปัจจุบัน เพราะว่าชาวบ้านได้สูญเสียทางความคิด คือไม่