122
โสวัฒนธรรม
ตลอดเวลา การเปลี่
ยนแปลงเป็
นผลมาจากการปรั
บตั
วให้
เข้
ากั
บสภาพแวดล้
อม
โดยมี
พื้
นฐานส�
ำคั
ญซึ่
งเป็
นเงื่
อนไขหลั
กก�
ำหนดกระบวนการเปลี่
ยนแปลงและการ
ปรั
บตั
วของสั
งคมวั
ฒนธรรม คื
อ เทคโนโลยี
การผลิ
ต โครงสร้
างทางสั
งคม และลั
กษณะ
ของสภาพแวดล้
อมธรรมชาติ
การศึ
กษาการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม
จึ
งควรให้
ความส�ำคั
ญกั
บการวิ
เคราะห์
1) ความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างสภาพแวดล้
อมกั
บ
เทคโนโลยี
การผลิ
ต ซึ่
งเป็
นตั
วก�
ำหนดที่ส�
ำคัญต่
อการเปลี่ยนแปลงทางวั
ฒนธรรม
2) ความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างเทคโนโลยี
กั
บพฤติ
กรรมของมนุ
ษย์
และ 3) ผลกระทบของการ
เปลี่
ยนแปลงทางเทคโนโลยี
ต่
อวั
ฒนธรรม การเปลี่
ยนแปลงจากวั
ฒนธรรมชุ
มชนไปสู่
วั
ฒนธรรมองค์
กรแบบทุ
นนิ
ยม สมาชิ
กในสั
งคมที่
มี
ปั
ญหาย่
อมหาทางปรั
บตั
ว
ไปตามรูปแบบลั
กษณะเฉพาะตน เพื่
อให้
อยู่
ในภาวะที่
พอเหมาะกั
บสิ่
งแวดล้
อม
จากเดิ
มที่
ใช้
ชี
วิ
ตในวั
ฒนธรรมชุ
มชน มาใช้
ชี
วิ
ตในวั
ฒนธรรมองค์
กรแบบทุ
นนิ
ยม
ซึ่
งปรากฎการณ์
ทางสั
งคมที่
เปลี่
ยนแปลงไปนั้
น พบได้
จากผลงานวิ
จั
ย หลายชิ้
น
ได้สะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงทางสังคมเพื่อให้เราได้ท�
ำความเข้าใจสังคม
อี
สานได้เป็นอย่างดี
3.3 พลังภูมิปัญญาด้านทุนเศรษฐกิจ
งานศึกษาวิจัยทางด้านวัฒนธรรมในภาคตะวันออกเฉี
ยงเหนือ ที่จัดอยู่ใน
กลุ
่
มของการศึ
กษาภูมิ
ปั
ญญาด้
านทุ
นเศรษฐกิ
จ ได้
พบงานศึ
กษาหลายชิ้
น เช่
น
ครรชิต จุประพัทธศรี (2545) ได้ศึกษาเงื่อนไขและปัจจัยด้านวัฒนธรรมความเชื่อ
ต่
อการจั
ดการป่
าชุ
มชนในหมู่
บ้
านอี
สาน : กรณี
ศึ
กษาเปรี
ยบเที
ยบระหว่
าง 2 หมู่
บ้
าน
ในจั
งหวั
ดสกลนคร พบว่
า ชุ
มชนอี
สานสามารถรั
กษาป่
าชุ
มชนดั้
งเดิ
มไว้
ได้
อาทิ
ดอนหอและป่
าช้
าในเขตหมู่
บ้
านที่
อยู่
นอกเขตป่
าอนุ
รั
กษ์
โดยใช้
วั
ฒนธรรมและ
ความเชื่
อ มี
เงื่
อนไขและปั
จจั
ยอะไรที่
ท�
ำให้
ป่
าด�
ำรงอยู่
ได้
และไม่
ได้
นอกจากนี้
ชุ
มชน
ทั้
งสองได้
ใช้
วั
ฒนธรรมความเชื่
อที่
สื
บทอดกั
นมานานในการดูแลรั
กษาป่
าดอนหอ
และป่
าช้
ามี
เงื่
อนไขปั
จจั
ยมาช่
วยเสริ
ม คื
อ การมี
แหล่
งทรั
พยากรแหล่
งอื่
นมารองรั
บ
การมี
เศรษฐกิ
จและมี
ระบบเกษตรที่
ดี
และมี
การผลิ
ตซ�้
ำทางวั
ฒนธรรมและความเชื่
อ
ทั้
งหมดนี้
ท�
ำให้ป่าคงอยู่แต่ป่าชุ
มชนนี้
ถูกบุ
กรุ
กจั
บจองถางและถูกใช้ประโยชน์