งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
125
สามารถคิ
ดเองได้
ว่
าตั
วเองจะท�
ำอย่
างไรให้
ชี
วิ
ตอยู่
รอด มี
อยู่
มี
กิ
นได้
ซึ่
งการหั
นกลั
บ
มาคิดเรื่องภูมิปัญญาพื้นบ้าน ความรู้จากปราชญ์ชาวบ้านที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น
จะเป็นแนวทางให้ชาวบ้านนั้
นมี
อยู่มี
กิ
น ไม่เป็นหนี้
การเฮ็
ดอยู่เฮ็
ดกิ
นนั้
น คื
อการท�
ำ
เพื่
อทดแทนสิ่
งที่
เราใช้ไปนั่
นเอง โดยการท�ำเกษตรแบบธรรมชาติ
อยู่กั
บธรรมชาติ
และเกื้
อกูลกัน ปลูกพื
ชหลายๆ ชนิ
ดที่
เรากิ
นได้ ใช้ประโยชน์ได้ แบ่งปันคนอื่
นได้
เช่
นเดี
ยวกั
บงานวิ
จั
ยของทั
ศน์
ทั
ศนี
ยานนท์
(2546
)
เรื่
อง ภูมิ
ปั
ญญาชาวบ้
าน
เพื่
อเพิ่
มรายได้
แก่
ชุ
มชน : กรณี
ท�
ำเจี้
ยกระดาษจากต้
นปอเต่
าให้
การวิ
จั
ยพบว่
า ต้
น
ปอเต่าให้ เป็นพื
ชธรรมชาติ
ขึ้
นได้ในป่าดิ
บแล้งที่
มี
พื้
นที่
เป็นดิ
นทรายและมี
ปริ
มาณ
น�้
ำฝนไม่
มากนั
ก เป็
นพื
ชเลี้
ยงง่
าย โตเร็
ว นอกจากเปลื
อกจะใช้
ท�
ำกระดาษแล้
ว ราก
ยั
งใช้
เป็
นยาระบายและยาถ่
ายให้
สั
ตว์
เลี้
ยงได้
ชาวบ้
านรู้
จั
กการท�
ำกระดาษจากต้
น
ปอเต่าให้ โดยจะท�ำในเทศกาลออกพรรษา โดยน�ำกระดาษที่ท�ำจากต้นปอเต่าให้
มาตั
ดเป็
นแผ่
นสี่
เหลี่
ยมแล้
วน�
ำไปห่
อผงธูปที่
ท�
ำจากขุ
ยมะพร้
าวผสมกั
บผงตั
งตุ
่
น
และใบอุ้
มที่
มี
กลิ่
นหอมแล้
วห่
อพั
นเป็
นมวนเหมื
อนบุ
หรี่
ก่
อนวั
นเข้
าพรรษา วั
ดจะเป็
น
ศูนย์
กลางระดมชาวบ้
านท�
ำธูปเจี้
ยแจกจ่
ายกั
นทั่
วหมู่
บ้
าน เมื่
อถึ
งวั
นออกพรรษาก็
จะ
น�
ำธูปเจี้
ยไปรวมกั
นจุ
ดถวายเป็
นพุ
ทธบูชา แต่
ภายหลั
งเมื่
อมี
การผลิ
ตธูปสมั
ยใหม่
ที่
มี
กรรมวิ
ธีไม่ยุ่งยากและราคาถูก เป็นสาเหตุ
ให้ชาวบ้านละทิ้
งประเพณี
การท�
ำเจี้
ย
ส่
วนงานวิ
จั
ยของสิ
นี
ช่
วงฉ�่
ำ (2545) เรื่
อง อุ
ตสาหกรรมชุ
มชน : 3 ปี
บน
เส้
นทางการพั
ฒนา เรี
ยนรู้
สู่
การขยายผล เป็
นงานที่
ศึ
กษาเกี่
ยวกั
บการพั
ฒนา
อุ
ตสาหกรรมในชุ
มชน โดยสรุ
ปข้
อมูลจากการด�ำเนิ
นงานของโครงการต่
างๆ เช่
น
การแปรรูปผลไม้
พื้
นบ้
าน การทอผ้
าพื้
นบ้
าน การตั
ดเย็
บเสื้
อผ้
าของกลุ
่
มแม่
บ้
าน
เป็
นต้
น ในระยะเวลา 3 ปี
ของการด�
ำเนิ
นงาน ท�
ำให้
สมาชิ
กชุ
มชนรวมตั
วกั
นท�
ำ
กิ
จกรรม ร่วมทุ
นประกอบอาชี
พสร้างรายได้ในท้องถิ่
นโดยสมาชิ
กทุ
กคนมีส่วนร่วม
ในการผลิ
ต การตลาด การบริ
หารจั
ดการ การเงิ
น การบั
ญชี
การปรั
บปรุ
งเทคโนโลยี
ตามความสอดคล้
องและทั
กษะของสมาชิ
ก และยั
งเป็
นกิ
จกรรมที่
สอดคล้
องกั
บ
สภาพแวดล้อม วัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตของชุมชน ประสานความร่วมมือ
ระหว่างชุ
มชน หน่วยงานต่างๆ