Previous Page  113 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 113 / 318 Next Page
Page Background

112

โสวัฒนธรรม

เนื้

อวั

วและแมลงทุ

กชนิ

ด ปลาจ่

อมที่

ท�

ำจากกุ

งฝอยหมั

กเกลื

อแล้

วใส่

ข้

าวคั่

ว เป็

อาหารยอดนิ

ยม นิ

ยมบริ

โภคข้าวจ้าว ส่วนความเชื่

อที่

มี

ต่ออาหารในชี

วิ

ตประจ�

ำวั

นั้

นเป็

นความเชื่

อที่

เกี่

ยวกั

บสภาพแวดล้

อมประสบการณ์

สุ

ขภาพ และเชื่

อต่

อสิ่

เหนื

อธรรมชาติ

อาหารที่

ใช้

ในงานมงคลนิ

ยมอาหารที่

มี

เส้

นเพื่

อแสดงถึ

งความยื

นยาว

ส�

ำหรั

บเสริ

ม ผลเพิ่

ม (2541) ได้

ศึ

กษาข้

อมูลจากเอกสารและภาคสนาม

3 แห่

งคื

อ อ�

ำเภอเมื

อง อ�

ำเภอเขมราฐและอ�

ำเภอพิ

บูลมั

งสาหาร พบว่

า การส่

วงเฮื

(การแข่งเรื

อ) เป็นกิ

จกรรมหนึ่

งในช่วงเทศกาลออกพรรษา เชื่

อว่า เฮื

อส่วงแต่ละล�

นั้

นมี

สิ่งศักดิ์สิ

ทธิ์

สถิ

ตอยู่

ดังนั้

น การขุ

ดเฮื

อส่

วงและการใช้

จึ

งมี

ความเกี่

ยวพั

นกั

พิ

ธี

กรรมและความเชื่

อในทุ

กขั้

นตอน ส่

วนธิ

ดารั

ตน์

ดวงสิ

นธุ์

(2546) เรื่

อง แนวคิ

ดเชิ

ปรั

ชญาที่

ปรากฏในประเพณี

แห่

เที

ยนพรรษาของประชาชนอ�

ำเภอเมื

องอุ

บลราชธานี

มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึ

กษาแนวคิดทางอภิปรั

ชญา จริยศาสตร์ และสุนทรียศาสตร์

ทางอภิ

ปรั

ชญา ซึ่

งได้

แก่

ธรรมชาติ

ของมนุ

ษย์

และเจตจ�

ำนงเสรี

การท�

ำเที

ยนพรรษา

เป็

นการสร้

างสรรค์

ด้

านจิ

ตใจ ท�

ำให้

จิ

ตใจเป็

นสุ

ขและได้

ปั

ญญา การถวายเที

ยน

เป็

นการสร้

างบุ

ญ เพื่

อให้

ตนเองมี

ปั

ญญาและเฉลี

ยวฉลาดทั้

งในชาติ

นี้

และชาติ

หน้

า ด้

านจริ

ยศาสตร์

สะท้

อนถึ

งความคิ

ดว่

าด้

วยอุ

ดมคติ

ของชี

วิ

ตมนุ

ษย์

และ

เกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรม ด้านสุนทรียศาสตร์คือความศรัทธา และเกณฑ์ตัดสิน

คุ

ณค่าทางสุ

นทรี

ยศาสตร์ขึ้

นกั

บความรู้สึ

กและประสบการณ์ของแต่ละบุ

คคล ส่วน

สาเหตุ

แห่

งการเปลี่

ยนแปลงมี

2 ปั

จจั

ยคื

อ ปั

จจั

ยภายในและปั

จจั

ยภายนอก ปั

จจั

ภายในเกิ

ดจากความคิ

ดและค่

านิ

ยมของมนุ

ษย์

ส่

วนปั

จจั

ยภายนอก ได้

แก่

การเมื

อง

เศรษฐกิ

จ สั

งคม

สุ

ริ

ยา สมุ

ทคปติ์

พั

ฒนา กิ

ตติ

อาษา ศิ

ลปะกิ

จ ตี่

ขั

นติ

กุ

ล และจั

นทนา

สุระพินิ

จ (2540) ได้ท�ำการวิจัยเรื่อง พิธีกรรม “ข่วงผีฟ้อน” ของ “ลาวข้าวเจ้า”

จั

งหวั

ดนครราชสี

มา โดยศึ

กษาตรวจสอบ น�

ำเสนอรูปแบบและเนื้

อหาส�

ำคั

“วิ

ธี

คิ

ดของคนไทย” ในระดั

บชาติ

ตั้

งแต่

สมั

ยของรั

ชกาลที่

4 น�

ำเสนอข้

อค้

นพบ

เกี่ยวกับ “วีธีคิด” ของชาวบ้านในชนบทอีสาน พบว่า “วีธีคิด” เป็นผลผลิตทาง

ประวั

ติ

ศาสตร์

และชาติ

พั

นธุ

ถูกสร้

างขึ้

นเพื่

อทางการเมื

องไม่

ใช่

อยู่

ตามธรรมชาติ