งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
103
วิ
ชาอาคมเกี่
ยวกั
บการรั
กษาโรคหรื
อทั่
วไปเรี
ยกว่
า “หมอพื้
นบ้
าน” ส่
วนความเชื่
อใน
การรั
กษานั้
น พบว่
า มี
2 ประเด็
น คื
อ ลูกกรูจะเชื่
อในเวทย์
มนต์
คาถา ตั
วยา เชื่
อต่
อ
เวลาและสถานที่
ที่
ใช้ในการรั
กษา
เช่นเดี
ยวกั
บประสาน สิ
งห์ทอง (2540) ได้ศึ
กษาเรื่
อง การเคี้
ยวหมากในวิ
ถี
ชีวิตของชาวผู้ไทย ต�ำบลหนองสูง อ�ำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร โดยศึกษา
องค์ประกอบพฤติ
กรรมการเคี้
ยวหมาก และความสัมพั
นธ์ของวั
ฒนธรรมการเคี้
ยว
หมากกั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวผู้
ไทย ต�
ำบลหนองสูง พบว่
า เพศหญิ
งเคี้
ยวหมากมากกว่
า
เพศชาย เครื่องประกอบการเคี้
ยวหมาก ได้แก่ หมาก พลู แก่นคูน ยาเส้น นวด
และสี
เสี
ยด ส่วนอุ
ปกรณ์ ได้แก่ กระบอกปูน มี
ดสนาก ตลั
บนวด และตะบั
นหมาก
สิ่
งเหล่
านี้
จะจั
ดวาง ไว้
บนขั
นหมาก ส่
วนความสั
มพั
นธ์
ของวั
ฒนธรรมการเคี้
ยวหมาก
กั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตมี
2 ลั
กษณะ คื
อ ในวิ
ถี
ชี
วิ
ต พบว่
า จะเคี้
ยวหมากหลั
งรั
บประทานอาหาร
และประเพณี
พิ
ธี
กรรม
นอกจากนี้
รุ
่
งทิ
พย์
ชาญชั
ยศิ
ริ
กุ
ล (2546) ได้
ศึ
กษาสตรี
แม่
บ้
านในชุ
มชน
วั
ฒนธรรมเขมรกั
บบทบาทการดูแลรั
กษาสุ
ขภาพ : กรณี
ศึ
กษาบ้านตลุ
งเก่า ต�
ำบล
โคกม้
า อ�
ำเภอประโคนชั
ย จั
งหวั
ดบุ
รี
รั
มย์
งานชิ้
นนี้
ศึ
กษาสตรี
แม่
บ้
านในชุ
มชน
วัฒนธรรมเขมรกับบทบาทรักษาสุขภาพ : กรณีศึกษาบ้านตลุงเก่า ต�ำบลโคกม้า
อ�
ำเภอประโคนชั
ย จั
งหวั
ดบุ
รี
รั
มย์
พบว่
าบทบาทของผู้
หญิ
งที่
เป็
นแม่
บ้
านในชุ
มชนถูก
ก�
ำหนดโดยปั
จจั
ยทางสรี
รวิ
ทยา (Sex) ปั
จจั
ยทางสั
งคมวั
ฒนธรรม (Gender) ที่
มี
การ
ผสมผสานกั
นอย่
างลึ
กซึ้
งในการเป็
นผู้
มี
บทบาทส�ำคั
ญในการดูแลสุ
ขภาพทั้
งด้
าน
การส่
งเสริ
มและการป้
องกั
นสุ
ขภาพในสภาวะร่
างกายที่
ปกติ
เพื่
อให้
ร่
างกายมี
ความสมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ และมีบทบาทในการดูแลรักษาเมื่อเจ็บป่วยโดยใช้
องค์
ความรู้
และประสบการณ์
ที่
สั่
งสมอยู่
ในความคิ
ด ที่
ได้
รั
บการถ่
ายทอดมาจาก
วั
ฒนธรรมเขมร เป็
นแนวทางในการแก้
ไขปั
ญหาทางสุ
ขภาพ และบทความของ
ไพรวั
ลย์
เตชะโกศล, สมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ขและบั
วพั
นธ์
พรหมพั
กพิ
ง (2547) เรื่
อง การ
จั
ดการสุ
ขภาพของชุ
มชนในจั
งหวั
ดขอนแก่น พบว่า การจั
ดการสุ
ขภาพของชุ
มชน
อยู่ในระดั
บที่
มากคิ
ดเป็นร้อยละ 69.8 สามารถแยกเป็นหลายด้าน ได้แก่ ชุ
มชนมี