Previous Page  100 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 100 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

99

ส�

ำหรั

บการศึ

กษาวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมของภาคอี

สานนั้

น พบว่า มี

พลวั

ตของงาน

ที่

ศึ

กษาเกี่

ยวกั

บวั

ฒนธรรมตั้

งแต่

อดี

ตจนถึ

งปั

จจุ

บั

น สะท้

อนให้

เห็

นว่

าวั

ฒนธรรมของ

ภาคอี

สานนั้

นได้ปรั

บเปลี่

ยนไปตามบริ

บทของสั

งคม ไม่ว่าจะด้านสั

งคม เศรษฐกิ

และการเมื

องของไทย ซึ่

งถึ

งแม้ว่าจะมี

ความเปลี่

ยนแปลงทางด้านสั

งคม เศรษฐกิ

และการเมืองภายในอย่างไรก็ตามนั้

น กระบวนการวิจัยและศึกษาวัฒนธรรมก็ยิ่ง

มี

ความจ�

ำเป็น และจะต้องท�ำการวิเคราะห์ให้รอบด้านมากยิ่

งขึ้

น เพราะว่า บริ

บท

และสถานการณ์ยิ่งเปลี่ยนแปลงไปมากเท่าใด ปรากฎการณ์ต่างๆ ความสัมพันธ์

เชิ

งอ�

ำนาจ การสร้างพื้

นที่

ทางสั

งคม การปรั

บเปลี่

ยนอั

ตลั

กษณ์ทางวั

ฒนธรรมของ

กลุ่มวั

ฒนธรรมต่างๆ ยิ่

งจะมี

เพิ่

มมากขึ้

นตามไปด้วย

ส�

ำหรั

บงานวิ

จั

ยทางวั

ฒนธรรมของภาคตะวั

นออกเฉี

ยงเหนื

อที่

ผ่

านมาได้

สะท้

อนให้

เห็

นพลวั

ตของวั

ฒนธรรมที่

เด่

นชั

ดมาก งานช่

วงแรกได้

พยายามเสนอ

องค์

ความรู้

โดยเฉพาะภูมิ

ปั

ญญาที่

มี

ในภาคอี

สาน และพลั

งทางความคิ

ดของ

คนอี

สาน ความหลากหลายทางด้

านการใช้

วั

ฒนธรรมเพื่

อสร้

างความเป็

นตั

วตนของ

คนอี

สานให้

เด่

นชั

ด และช่

วงหลั

งๆ ต่

อมามี

งานวิ

จั

ยทางวั

ฒนธรรมที่

พยายามอธิ

บาย

วั

ฒนธรรมของคนอี

สานที่

ถูกปรั

บเปลี่

ยนไปมาก เพื่

อความอยู่

รอดในกระแสของโลกา

ภิ

วั

ตน์

งานวิ

จั

ยทางด้

านวั

ฒนธรรมทั้

งหมดเป็

นความพยายามอธิ

บายสั

งคมของคน

อีสานเพื่อชี้ให้สังคมได้เห็นว่าวัฒนธรรมของคนอีสานจริงๆ แล้วนั้

นเป็นอย่างไร มี

ความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมและชาติพันธุ์อย่างไร เพราะการถูกเบียดขับ

ให้ความเป็น “คนอี

สาน” และความเป็น “ลาว” นั้

นได้ฝังรากลึ

กมาอย่างยาวนาน

ดั

งนั้

น งานสั

งเคราะห์

และประเมิ

นสถานภาพการศึ

กษาทางด้

านพลั

งความคิ

และภูมิ

ปั

ญญานี้

จะได้

ช่

วยให้

เกิ

ดความเข้

าใจของคนในสั

งคมไทยได้

เป็

นอย่

างดี

ว่

าแต่

ละกลุ

มวั

ฒนธรรมมี

ความเป็

นอยู่

อย่

างไร มี

การสร้

างพื้

นที่

หรื

อการที่

ต้

องต่

อรอง

ต่อสู้อย่างไร เพื่

อให้กลุ่มตนเองมี

ตั

วตนและมี

พื้

นที่

ในการแสดงออกทางวั

ฒนธรรม

ซึ่

งสั

งคมไทยจะต้

องยอมรั

บว่

าเป็

นสั

งคมที่

มี

ความเป็

นพหุ

สั

งคมค่

อนข้

างสูง และ

ในทางกฎหมายและนโยบายถึ

งแม้

ว่

าจะยอมรั

บและเปิ

ดโอกาสให้

แต่

ละกลุ

มได้

แสดงออกทางวั

ฒนธรรม ภาษา การแต่งกาย ฯลฯ แล้วนั้

น แต่ในทางปฏิ

บั

ติ

ก็

ยั

คงพบว่

า มี

ความเหลื่

อมล�้

ำการดูหมิ่

นดูแคลนด้

วยวั

ฒนธรรมกระแสหลั

กอยู่

ไม่

น้

อย