98
โสวัฒนธรรม
มี
ในสั
งคมลงไปอย่
างมาก และยาวนานสื
บเนื่
องมาจากอดี
ตจนถึ
งปั
จจุ
บั
น ซึ่
ง
กระบวนการวิ
จั
ยทางด้
านวั
ฒนธรรมจะมี
ความส�
ำคั
ญมากในการศึ
กษาท�
ำความ
เข้
าใจและวิ
เคราะห์
บริ
บทของสั
งคมที่
เปลี่
ยนแปลงไปตามช่
วงเวลา วิ
เคราะห์
ให้
เห็
น
ถึ
งเหตุ
และปัจจั
ยที่
ท�
ำให้วั
ฒนธรรมต่างๆ ที่
มี
ในสั
งคมนั้
น ต้องถูกเบี
ยดขั
บหรื
อบาง
วั
ฒนธรรมก็
ถูกท�
ำให้
กลายเป็
นสิ
นค้
าเพื่
อการพาณิ
ชย์
วั
ฒนธรรมถูกท�
ำให้
กลายเป็
น
สินค้าให้คนภายนอกหรือนั
กท่
องเที่ยวได้บริ
โภควัฒนธรรมแบบเด็ดยอด ไม่
เข้
าใจ
วั
ฒนธรรมได้
อย่
างลึ
กซึ้
ง การวิ
จั
ยทางด้
านวั
ฒนธรรมที่
ยั
งเข้
าไม่
ถึ
งความเป็
นจริ
ง
ของวั
ฒนธรรมจะไม่สามารถชี้
ให้เห็
นความจริงที่
เกิ
ดกั
บวั
ฒนธรรมอี
สานตั้
งแต่อดี
ต
จนถึ
งปัจจุ
บั
นได้เลย
ผลของกระบวนการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมวั
ฒนธรรมไปสู่
ความทั
นสมั
ย และ
กระบวนการเชิ
งพาณิ
ชย์
ได้
ส่
งผลให้
เกิ
ดการลดทอน ผลั
กวั
ฒนธรรมของคนชายขอบ
กลุ่มต่างๆ ให้ไปอยู่ในที่
ๆ ไม่ใช่ศูนย์กลาง เกิ
ดภาวะขั
ดกันในการนิยามตั
วตนและ
การแสดงออกทางวั
ฒนธรรมที่
ได้ถ่ายทอด สั่
งสม และผสมผสาน อย่างไรก็
ตามก็
ไม่
ได้
หมายความว่
าการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมนั้
นๆ ได้
ส่
งผลกระทบ
ทางด้านลบเสมอไป กลุ่มต่างๆ ก็
มี
การปรั
บตั
วเพื่
อให้กลุ่มของตนเองมี
พื้
นที่
ในการ
แสดงออกทางวัฒนธรรม และมีอ�
ำนาจในการต่อรองเรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง
ทางสั
งคม เศรษฐกิ
จ มี
การปรั
บวั
ฒนธรรมให้
เหมาะสมสอดคล้
อง มี
การปฏิ
สั
มพั
นธ์
ข้ามกลุ่มเพื่
อการต่อรองเชิ
งอ�ำนาจ
งานศึกษาทางด้านวัฒนธรรมในปัจจุบันได้พลิกมุมมองการท�
ำความเข้าใจ
ในความหมายของวั
ฒนธรรมไปในมิ
ติ
ที่
เชื่
อมโยงกั
บกระแสโลกาภิ
วั
ตน์
กระแส
วาทกรรมหลั
กที่
ทรงพลั
งด้
วยการเบี
ยดขั
บวั
ฒนธรรมย่
อยๆ ของกลุ
่
มคนที่
หลากหลาย
ให้ด้อยค่าลงไปมาก การศึกษางานวัฒนธรรมในปัจจุบันก้าวไกลไปถึงการน�ำแนว
คิดใหม่ๆ ที่ให้ความส�ำคัญกับบริบทและสถานการณ์ของสังคม การเมือง ในช่วง
เวลานั้
นๆ เข้
ามาวิ
เคราะห์
ร่
วมด้
วย แต่
ก็
ไม่
ได้
ละทิ้
งงานศึ
กษาวั
ฒนธรรมที่
พยายาม
ท�ำความเข้าใจความหมายของวัฒนธรรมด้วยการตีความจากคนในวัฒนธรรมนั้
น
และการตี
ความผ่านสั
ญลั
กษณ์และพิ
ธี
กรรม