Previous Page  103 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 103 / 318 Next Page
Page Background

102

โสวัฒนธรรม

ซื่

อสั

ตย์ เป็นต้น ส�

ำหรั

บชลฤทั

ย ผ่านทอง (2545)

ได้ศึ

กษาเรื่

อง ภูมิ

ปัญญาอี

สาน :

นิทานมุ

ขตลกไม่

ใช่

แค่

เรื่

องตลก เน้

นศึ

กษาเกี่

ยวกั

บภูมิ

ปั

ญญาอี

สานของนิทาน

มุ

ขตลกที่

ไม่ใช่แค่เรื่

องตลก พบว่า การศึ

กษานิ

ทานในเชิ

งมานุ

ษยวิ

ทยาวั

ฒนธรรม

โดยการใช้ ทฤษฎี

โครงสร้างหน้าที่

มาเป็นกรอบในการศึ

กษาอธิ

บายความสั

มพั

นธ์

ระหว่

างนิ

ทานกั

บสั

งคมวั

ฒนธรรมท้

องถิ่

นเป็

นแนวทางหนึ่

งที่

สามารถสร้

างความ

เข้

าใจถึ

งบทบาทและคุ

ณค่

าของภูมิ

ปั

ญญาท้

องถิ่

นประเภทวรรณกรรมนิ

ทานให้

เกิ

ความชั

ดเจนยิ่

งขึ้

นได้

ทางภาคอี

สานมี

วรรณกรรมนิ

ทานมุ

ขตลกเป็

นจ�ำนวนมาก

ส่

วนใหญ่

เป็

นนิ

ทานมุ

ขตลกที่

มี

เนื้

อหาเกี่

ยวกั

บระบบครอบครั

ว เครื

อญาติ

ซึ่

งสะท้

อน

ให้

เห็

นสภาพวั

ฒนธรรมชุ

มชนอี

สานได้

เป็

นอย่

างดี

วั

ตถุ

ประสงค์

หลั

กของนิ

ทานเหล่

นี้

เกิ

ดมาเพื่

อสร้างอารมณ์หรรษาเพลิ

ดเพลิ

น บั

นเทิ

งใจเป็นหลั

นอกจากนี้

วี

ระ

สุ

ดสั

งข์ (2542) ศึ

กษาการเล่นสะเองของชาวกูยศรี

สะเกษ

งานชิ้

นนี้

ศึ

กษาพิ

ธี

กรรมการเล่

นสะเองในจั

งหวั

ดศรี

สะเกษ ซึ่

งเป็

นพิ

ธี

กรรมของ

ชาวกูย เนื่องจากชาวกูยหรือกวยนั้

น มักสร้างชุมชนอยู่ตามป่าตามเขา พึ่งพาสิ่ง

ลี้ลับของธรรมชาติ จึงเล่นสะเองเพื่อขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์และดวงวิญญาณของ

บรรพบุ

รุ

ษให้

ปกปั

กรั

กษา เป็

นการติ

ดต่

อสื่

อสารระหว่

างผู้

ที่

ยั

งมี

ชี

วิ

ตอยู่

กั

บผู้

ล่

วงลั

ไปแล้

ว โดยผ่

านร่

างทรงของแม่

สะเอง และเล่

นเพื่

อร�

ำลึ

กถึ

งคุ

ณงามความดี

ของ

บรรพบุรุษชาวเขมรเรียกการเล่

นแบบนี้ว่า แมมว็ด (ชาวไทยเรียกว่าแม่

มด) แปล

ได้

ว่

าแม่

ผู้

พูด แม่

ผู้

บอกเสี

ยงไปถึ

งเทพาอารั

กษ์

การเล่

นสะเอิ

งของชาวกูย จะมี

กลอง

และฆ้อง ผู้ชายตี

กลองและฆ้อง

ส�

ำหรั

บบรรทมทิ

พย์

มี

ชั

ย (2540) ศึ

กษาภูมิ

ปั

ญญาลูกกรู ต�

ำบลชุ

มเห็

อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

ท�

ำให้

ทราบถึง วิธีการรักษาโรคภัยไข้

เจ็บของลูกกรูใน

พื้นที่ต�ำบลชุมเห็ด ได้

พบว่า จ�

ำนวนวันในการรักษาจะใช้เวลาต่างกันตามอาการ

ส่วนช่วงเวลาท�ำการรั

กษากระท�ำได้ตลอดทั้

งวั

นยกเว้นตอนเที่

ยงเพราะเป็นข้อห้าม

ของลูกกรู สถานที่

ใช้บ้านของลูกกรูหรื

อบ้านผู้ป่วย วั

ตถุ

สิ่

งของมี

สมุ

นไพร น�้ำมั

เวทมนต์

และเครื่

องบูชาลูกกรู ส่

วนขั้

นตอนมี

ขั้

นเตรี

ยมการ ขั้

นด�

ำเนิ

นการ และ

ขั้

นติ

ดตามการรั

กษา ค�

ำว่

า “ลูกกรู” เป็

นค�

ำเรี

ยกของกลุ

มไทย-เขมร เรี

ยกผู้

ที่

มี