งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
97
ปรั
บเปลี่
ยนของวั
ฒนธรรมนั้
นๆ ย่
อมหลี
กเลี่
ยงไม่
ได้
ที่
จะต้
องศึ
กษาถึ
งปรากฎการณ์
ที่เกิดขึ้นจริงในสังคมด้วยกระบวนการวิจัยเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และเพื่อ
ศึ
กษาถึ
งปั
จจั
ยที่
ก่
อให้
เกิ
ดปรากฎการณ์
นั้
นๆ ดั
งนั้
น การวิ
จั
ยด้
านพลั
งความคิ
ด
และภูมิ
ปั
ญญา จึ
งต้
องค้
นหาถึ
งประเด็
นที่
เกี่
ยวข้
องกั
บวั
ฒนธรรม ไม่
ว่
าจะเป็
น
พลั
งความคิ
ด ภูมิ
ปัญญา หรื
อการสร้างวาทกรรมและการครอบง�
ำทางวั
ฒนธรรม
ที่
ดูเหมื
อนจะทรงพลั
งอ�
ำนาจมากที่
สุ
ดในการส่
งผลถึ
งพลวั
ตวั
ฒนธรรม และการ
ครอบง�
ำทางวั
ฒนธรรม ด้
วยการสร้
างวาทกรรมให้
เกิ
ดกั
บวั
ฒนธรรมไทยกระแสหลั
ก
ให้ทรงพลั
งมาอย่างยาวนานจากอดี
ตจนถึ
งปัจจุ
บั
นนั้
น พบว่า มี
การอธิ
บายในงาน
ศึ
กษาของศูนย์
มานุ
ษยวิ
ทยาหลายเล่
มได้
กล่
าวถึ
งวั
ฒนธรรมย่
อยๆ โดยเฉพาะ
วั
ฒนธรรมอี
สานไว้
ว่
า “ความเป็
นลาว” ของประชากรในภาคอี
สานนั้
น ได้
ถูกนิ
ยาม
ขึ้
นโดยอธิ
บายจากภาษา ประเพณี
วั
ฒนธรรม ความเชื่
อ และสิ่
งที่
มี
อยู่ร่วมกั
น ใน
ขณะเดียวกันก็อธิบายจากเอกลักษณ์ของตนที่แตกต่างจากกลุ่มอื่นๆ ส�ำนวนที่ว่า
“กิ
นปลาแดก เว้
าลาว เป่
าแคน แห้
นข้
าวเหนี
ยว” กลายเป็
นสั
ญลั
กษณ์
ของ “ความ
เป็
นลาว” โดยเฉพาะภาษาพูดนั้
นเป็
นเครื่
องแบ่
งแยกระหว่
าง “ความเป็
นไทย”
กับ “ความเป็นลาว” อย่างชัดเจน และก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันนับแต่อดีต
เมื่
อภาษาไทยกลางมี
อ�
ำนาจทางเศรษฐกิ
จและการเมื
องสูงกว่
า สื
บเนื่
องมาจาก
ดิ
นแดนที่
ราบสูงถูกผนวกเข้
าเป็
นส่
วนหนึ่
งของสยามตั้
งแต่
สมั
ยกรุ
งธนบุ
รี
และอยู่
ใน
การปกครองของรั
ฐไทย
วาทกรรม “ความเป็
นไทย” ได้
ถูกนิ
ยามขึ้
นเพื่
อให้
“ลาว” กลายเป็
น “ไทย”
และวาทกรรมนี้ได้
ถูกเสริ
มด้
วยการศึ
กษา สื่
อ นโยบาย และการปฏิ
บั
ติ
อี
กหลาย
ประการ ความสั
มพั
นธ์ที่
ท�
ำให้เกิ
ดการนิ
ยามตั
วตนนี้
คื
อความสั
มพั
นธ์เชิ
งอ�
ำนาจที่
ก่
อเกิ
ด สิ
ทธิ
การเข้
าถึ
งทรั
พยากร ความถูกต้
องและความชอบธรรมอย่
างหนึ่
ง และ
แน่
นอนที่
สุ
ดว่
ากลุ
่
มที่
ถูกกี
ดกั
นในเรื่
องดั
งกล่
าวก็
คื
อกลุ
่
มคนชายขอบเหล่
านี้
นี่
เอง
(ศูนย์มานุ
ษยวิ
ทยาสิ
ริ
นธร 2547:127-130)
การสร้
างวาทกรรมให้
กั
บวั
ฒนธรรมที่
มี
ความแตกต่
างไปจากวั
ฒนธรรม
กระแสหลั
กนั้
นได้
ส่
งผลให้
เกิ
ดการลดทอนความหลากหลายทางวั
ฒนธรรมที่