งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
199
นอกจากนี้
ปรากฏงานศึ
กษาเรื่
อง ความสามารถของชุ
มชนในการจั
ดการ
ทรั
พยากรท้
องถิ่
นศึ
กษากรณี
เฉพาะดอนหอยหลอด ต�
ำบลบางจะเกร็
ง อ�
ำเภอเมื
อง
จั
งหวั
ดสมุ
ทรสงคราม (2546)
18
วั
ตถุ
ประสงค์
เพื่
อศึ
กษาพั
ฒนาการทางเศรษฐกิ
จ
สั
งคม การเมื
อง ที่
มี
ผลต่
อทรั
พยากรท้
องถิ่
นของชุ
มชน โดยศึ
กษากระบวนการ
ในการจั
ดการทรั
พยากรท้
องถิ่
นของชุ
มชน วิ
เคราะห์
ถึ
งปั
จจั
ย เงื่
อนไขส�
ำคั
ญ
ที่
ส่
งผลต่
อกระบวนการจั
ดการทรั
พยากรท้
องถิ่
น เนื่
องจากคนในชุ
มชนเห็
นถึ
ง
การเปลี่
ยนแปลงการใช้
ประโยชน์
จากดอนหอยหลอดที่
มุ
่
งเน้
นการค้
ามากขึ้
น
อาจน�ำไปสู่
ความเสื่
อมโทรมของพื้นที่
และอาจจะท�
ำให้
การใช้
ประโยชน์
หมดลงใน
ระยะสั้
น ผู้
วิ
จั
ยวางกรอบการศึ
กษาว่
า “การพั
ฒนาพื้
นที่
ในด้
านต่
างๆ เช่
น โครงสร้
าง
พื้
นฐาน การท่
องเที่
ยว การเปลี่
ยนแปลงทางธรรมชาติ
ตลอดจนการจั
บหอยหลอดแบบ
มุ่งเน้นปริมาณ ท�ำให้สภาพของดอนหอยหลอดเปลี่ยนแปลงไปส่งผลทั้งด้านบวก
และลบกั
บคนในพื้
นที่
” จึ
งเกิ
ดการรวมกลุ
่
มขึ้
นในชุ
มชน งานศึ
กษาได้
วิ
เคราะห์
ความ
สามารถของชุ
มชนในการจั
ดการทรั
พยากรใน 3 ด้
านคื
อ การพั
ฒนาจิ
ตส�
ำนึ
ก องค์
กร
ชุ
มชนและกระบวนการจั
ดการเทคนิ
ควิ
ธี
ผู้
วิ
จั
ยสรุ
ปว่
าแม้
ในเบื้
องต้
นการด�ำเนิ
นงาน
ของกลุ่มจะบรรลุ
ตามวัตถุ
ประสงค์ เนื่
องจากชาวบ้านเป็นกลุ่มคนดั้
งเดิ
มในพื้
นที่
มี
ความผูกพั
นและเห็
นถึ
งคุ
ณค่
าของทรั
พยากรท้
องถิ่
น แต่
ว่
ากระบวนการมี
ส่
วนร่
วมยั
ง
จ�
ำกั
ดอยู่
เฉพาะแกนน�
ำและชาวบ้
านจ�
ำนวนหนึ่
งเท่
านั้
นยั
งไม่
สามารถขยายเครื
อข่
าย
ออกไปยั
งหมู่
บ้
านอื่
น ส�
ำหรั
บการใช้
วิ
ธี
ดั้
งเดิ
มเพื่
อเป็
นการเว้
นระยะให้
ดอนหอยหลอด
ได้
ฟื
้
นตั
ว งานศึ
กษาวิ
เคราะห์
ถึ
งเงื่
อนไขต่
างๆ ในการเอื้
อ/ไม่
เอื้
อต่
อการรวมกลุ
่
มอย่
าง
ชั
ดเจน ซึ่
งมี
ประโยชน์
ในการน�
ำไปสู่
การแลกเปลี่
ยนเรี
ยนรู้
การด�
ำเนิ
นงาน/ศึ
กษาวิ
จั
ย
ระหว่างผู้สนใจประเด็
นการจั
ดทรั
พยากรของชุ
มชนท้องถิ่
นต่อไป
18 ณัฐกานต์ สุวรรณะ.ความสามารถของชุมชนในการจัดการทรัพยากรท้องถิ่น:ศึกษาเฉพาะกรณีดอนหอย
หลอด ต�ำบลบางจะเกร็ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม.วิทยานิพนธ์.สาขาวิชาการวางแผนสิ่งแวดล้อม
เพื่อชุมชนและชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล 2546.