Previous Page  199 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 199 / 238 Next Page
Page Background

198

ถกเถียงวัฒนธรรม

โครงการดั

งกล่

าวว่

าน�

ำมาสู่

ความขั

ดแย้

งเรื่

องการจั

ดการน�้

ำระหว่

างชาวบ้

านใน

พื้

นที่

ซึ่

งมี

ทั้

งกลุ่มชาวนาที่

ต้องการน�้

ำจื

ด และกลุ่มผู้เลี้

ยงกุ้งที่

ต้องการน�้

ำเค็

ม และ

ความขั

ดแย้

งคลี่

คลายด้

วยการแก้

ไขปั

ญหาร่

วมกั

นของชาวบ้

านผ่

านการวิ

จั

ปฏิ

บั

ติ

การของชาวบ้านโดยมี

เจ้าหน้าที่

ส�

ำนั

กงานกองทุ

นสนั

บสนุ

นการวิ

จั

ย (สกว.)

เป็นพี่เลี้ยงโดยให้ชาวบ้านร่วมปรึกษาหารือ และลงมือศึกษาเรื่องการไหลของน�้

จากคนรุ่

นก่

อนและสร้

างประตูขึ้

นมาใหม่

แทนประตูน�้

ำที่

สร้

างโดยกรมชลประทานที่

ชาวบ้านกล่าวว่าไม่สามารถใช้การได้

อย่

างไรก็

ตามมี

งานบางงานที่

สนใจศึ

กษาการจั

ดการทรั

พยากรในบริ

บท

ของการเปลี่ยนแปลงที่วิถีชีวิตชุมชนเดิมได้รับผลกระทบจากนโยบายรัฐอย่

างเช่

งานศึ

กษาเรื่

องเอกลั

กษณ์ปรุ

งแต่งกั

บการจั

ดการทรั

พยากรท้องถิ่

น จั

งหวั

ดเพชรบุ

รี

(2545)

17

งานศึ

กษาชิ้

นนี้

ก�

ำหนดวั

ตถุ

ประสงค์

ว่

าเพื่

อหาแนวทางในการจั

ดการ

ทรั

พยากรท้

องถิ่

นโดยเริ่

มต้

นจากการถามหาวิ

ถี

ชี

วิ

ตชาวสวนที่

ผูกโยงกั

บต้

นตาล

ในอดี

ตและถูกท�ำลายด้

วยนโยบายการพั

ฒนาของรั

ฐที่

เน้

นการปลูกพื

ชเศรษฐกิ

และพั

ฒนาอุ

ตสาหกรรม งานศึ

กษาใช้

กรอบนิ

เวศวิ

ทยาการเมื

อง โดยกล่

าวถึ

นโยบายด้

านการเกษตรเมื่

อปี

2530 เริ่

มส่

งเสริ

มการท�

ำนาปี

ละสองครั้

ง ส่

งผล

ต่

อระบบนิ

เวศผื

นนาและต้

นตาลลดความส�ำคั

ญลง ประกอบกั

บนโยบายพั

ฒนา

อุ

ตสาหกรรมท่

องเที่

ยวและการเติ

บโตของเมื

องเพชรบุ

รี

มี

ส่

วนอย่

างส�

ำคั

ญที่

ท�

ำให้

อาชี

พท�

ำตาลซึ่

งผู้

ศึ

กษาถื

อว่

าเป็

นเอกลั

กษณ์

ของท้

องถิ่

นสูญหายไป พร้

อมกั

ถูกแทนที่ด้วยนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ไร้ทิศทาง ขาดจุดเด่นที่เป็นลักษณะ

เฉพาะของท้องถิ่

นในระยะยาวอาจท�

ำให้เกิ

ดปัญหาได้ ดั

งนั้

นงานศึ

กษาจึ

งเสนอว่า

นโยบายที่ส่งผลถึงชุมชนไม่ควรมีแบบเดียวแต่ต้องสร้างทางเลือกให้กับชุมชนโดย

ค�

ำนึ

งถึ

งบริ

บทของชุ

มชนที่

เปลี่

ยนแปลงไป รวมทั้

งเป็

นการพั

ฒนาแบบเพิ่

มศั

กยภาพ

ในการพึ่

งพาตนเองไม่

ผูกติ

ดกั

บการท่

องเที่

ยวจนเกิ

นไป พร้

อมกั

บเร่

งสนั

บสนุ

นให้

เกิ

การฟื้นฟูทรั

พยากรท้องถิ่

น เพื่

อประโยชน์ของชุ

มชนในระยะยาวต่อไป

17 ปิยนุช ผู้ทรงธรรม เอกลักษณ์ปรุงแต่งกับการจัดการทรัพยากรท้องถิ่น จังหวัดเพชรบุรี วิทยานิพนธ์ สาขา

วิชาเทคโนโลยีการวางแผนสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.2545