194
ถกเถียงวัฒนธรรม
มานุษยวิทยาประจ�ำปี 2547 ภายใต้หัวข้อ “ทบทวนภูมิปัญญา ท้าทายความรู้”
ปริ
ตตา เฉลิ
มเผ่
า กออนั
นตกูล ได้
ตั้
งข้
อน่
าสั
งเกตไว้
อย่
างน่
าสนใจว่
า “ในแวดวงการ
พั
ฒนาของไทยเดิ
มที่
ความรู้
เรื่
อง “ภูมิ
ปั
ญญา” เคยเป็
นเพี
ยงกระแสรอง/กระแสต้
าน
แต่ค่อยๆ ถูกกลื
นเข้าเป็นส่วนหนึ่
งของกระแสหลั
ก และที่
ส�
ำคั
ญ ภูมิ
ปัญญากลาย
เป็นสิ่งที่เรียกว่า “สัญญะที่ไร้ราก” (Floating signififfiier) คือการถูกน�
ำไปใช้ในกลุ่ม
สังคมที่แตกต่างกันออกไป ด้วยความหมายต่างๆ กันจนกระทั่งไม่สามารถจ�
ำกัด
ความหมายที่
แน่
นอนได้
อี
ก
8
นอกจากนี้
จามะรี
เชี
ยงทอง ได้
กล่
าวถึ
งกระแส
การพัฒนาทางเลือกว่า “การแสดงทางเลือกหรือความหลากหลายนี้ อาจน�
ำไปสู่
การถูกฉกฉวยบางลักษณะของการพัฒนาทางเลือก เข้าผนวกกับกระแสหลักของ
รั
ฐและตลาด เช่น เลื
อกหยิ
บเอาชุ
มชนเข้าเป็นส่วนหนึ่
งของนโยบายการพั
ฒนาแต่
ยั
งคงไว้
ซึ่
งระบบตลาดและอ�
ำนาจรั
ฐหรื
อหยิ
บเอากระแสอนุ
รั
กษ์
สภาพแวดล้
อม
แต่ไม่ปฏิเสธระบบตลาด ซึ่งอาจน�ำสู่ทางเลือกการพัฒนาที่ผิดเพี้ยนไป”
9
อย่างไร
ก็
ตามประเด็
นเหล่านี้
ล้วนแต่ท้าทายต่อการศึ
กษาอย่างลึ
กซึ้
งต่อไป
ข. งานในกลุ่มจิตส�ำนึกท้องถิ่น/ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ส�ำหรับกลุ่มนี้พบได้
ในงานของส�ำนั
กงานกองทุนสนับสนุ
นการวิจัย (สกว.)
ภายใต้
ชุ
ดโครงการวิ
จั
ยประวั
ติ
ศาสตร์
วั
ฒนธรรมท้
องถิ่
นภาคกลาง โดยเน้
นที่
กระบวนการสร้
างนั
กวิ
จั
ยท้
องถิ่
นและใช้
การวิ
จั
ยปฏิ
บั
ติ
การแบบมี
ส่
วนร่
วมพร้
อม
เน้
นกั
บการสร้
างจิ
ตส�
ำนึ
กท้
องถิ่
นผ่
านงานศึ
กษาประวั
ติ
ศาสตร์
ท้
องถิ่
นอย่
างเช่
น
การวิจัยเรื่อง การสืบสร้างประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอัมพวา ต.บางนางลี่ (2545)
10
งานชิ้
นนี้
กล่
าวถึ
งที่
มาและวิ
ธี
การศึ
กษาว่
า ถึ
งแม้
ชุ
มชนชาวสวนอั
มพวาจะมี
ประวัติศาสตร์ที่ยาวนานไม่ต่างจากชุมชนอื่น ทว่าเงื่อนไขเชิงภูมิศาสตร์กายภาพ
8 อ้างในยุกติ มุกดาวิจิตร (2548).อ่าน “วัฒนธรรม” วาทศิลป์การเมืองของชาติพันธุ์นิพนธ์แนววัฒนธรรม
ชุมชน.กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
9 จามะรี เชียงทอง (2549).สังคมวิทยาการพัฒนา.กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้ตติ้ง เฮ้าส์.
10 โครงการวิจัยสืบสานสร้างประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอัมพวาสวนนอก ต�ำบลนางลี่.กรุงเทพฯ:ส�ำนักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย