Previous Page  196 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 196 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

195

โดยเฉพาะอย่

างยิ่

งการพั

ฒนาโครงสร้

างพื้

นฐานของรั

ฐและการขยายตั

วของ

ภาคอุ

ตสาหกรรมท�ำให้ประวั

ติ

ศาสตร์ท้องถิ่

นลดพลั

งและลดความส�

ำคั

ญลงเรื่

อยๆ

จนไม่

สามารถร้

อยรั

ดชุ

มชนเข้

าด้

วยกั

น ประกอบกั

บคนรุ

นใหม่

ขาดความรู้

และ

จิ

ตส�

ำนึ

กทางประวั

ติ

ศาสตร์

จึ

งน�

ำไปสู่

การอ่

อนแอลงของชุ

มชน ดั

งนั้

นวิ

ธี

การ

ศึกษาจึงให้ความส�ำคัญกับกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์

ท้

องถิ่นผ่

านการวิจัย

เชิ

งปฏิ

บั

ติ

การแบบมี

ส่

วนร่

วม (Participatory Action Research) คื

อไม่

ได้

มองว่

าชุ

มชน

เป็

นวั

ตถุ

แห่

งการศึ

กษาหรื

อผู้

ให้

ข้

อมูลเท่

านั้

น หากแต่

ปรั

บสถานะมาเป็

นผู้

ศึ

กษาร่

วม

(co-author) ทั้

งนี้

วิ

ธี

การดั

งกล่

าวเป็

นการเปิ

ดโอกาสให้

ชุ

มชนได้

เป็

นผู้

ก�

ำหนด

ความหมาย เรื่

องราว อั

นเป็นสิ่

งสะท้อนวั

ฒนธรรมที่

แสดงถึ

งเอกลักษณ์ของตนเอง

นอกจากจะท�

ำให้

เกิ

ดความเข้

าใจและภาคภูมิ

ใจร่

วมกั

นแล้

วยั

งน�

ำไปสู่

การเพิ่

อ�

ำนาจในการสร้างและก�

ำหนดความหมายซึ่

งมี

ความส�

ำคั

ญกั

บชุ

มชนอี

กด้วย

งานศึ

กษาเรื่

อง วิ

ถี

คนป่

าตะวั

นออกผื

นสุ

ดท้

าย (2548)

11

เป็

นการศึ

กษา

แนวประวั

ติ

ศาสตร์

ท้

องถิ่

นบริ

เวณชุ

มชนบ้

านต้

นน�้

ำ คลองระบบ-สี

ยั

ด มี

วั

ตถุ

ประสงค์

เพื่

อให้

ชุ

มชนได้

ทบทวนถึ

งความเป็

นมาของชุ

มชนที่

มี

การเคลื่

อนย้

ายของกลุ

ชาติ

พั

นธุ

ต่

างๆ เข้

า-ออก รวมถึ

งการเปลี่

ยนแปลงของชุ

มชนอั

นสื

บเนื่

องจากการ

ท�ำสัมปทานป่าไม้และการสร้างอ่างเก็บน�้

ำขนาดใหญ่ กระบวนการศึกษาเน้นการ

สร้

างกระบวนการเรี

ยนรู้

ของนักวิ

จั

ยพร้

อมกั

บการสร้

างสั

มพั

นธ์

ระหว่

างที

มวิ

จั

และชุ

มชนผ่

านการจั

ดเวที

แลกเปลี่

ยนเรี

ยนรู้

ในชุ

มชน การสั

มภาษณ์

เชิ

งลึ

ก และ

การจั

ดเวที

เยาวชน เป้

าหมายของงานศึ

กษาวิ

จั

ยนอกจากจะได้

ผลการศึ

กษาเป็

องค์

ความรู้

ของท้

องถิ่

นแล้

วยั

งเป็

นการสร้

างส�

ำนึ

กอั

นเกิ

ดจากการเรี

ยนรู้

และ

ทบทวนอดี

ตเพื่

อใช้เป็นการวางแผนร่วมกั

นในอนาคต

งานศึ

กษาภายใต้

โครงการวิ

จั

ยพลวั

ตประวั

ติ

ศาสตร์

ท้

องถิ่

นท่

ามกลางกระแส

การเปลี่

ยนแปลง ต�

ำบลคลองด่าน จั

งหวั

ดสมุ

ทรปราการ (2546)

12

งานศึ

กษาชิ้

นนี้

11 วิบูลย์ เข็มเฉลิมและคณะ. วิถีคนบนป่าตะวันออกผืนสุดท้าย(2548).กรุงเทพฯ:ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน

การวิจัย

12 เรวดี ประเสริฐเจริญสุขและคณะ.โครงการวิจัยพลวัตประวัติศาสตร์ท้องถิ่นท่ามกลางกระแส

การเปลี่ยนแปลง:ต�ำบลคลองด่าน (2546),ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.