Previous Page  194 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 194 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

193

ก. งานวิจัยในแนวภูมิปัญญาดั้งเดิมหรือวัฒนธรรมชุมชน

ความน่

าสนใจของงานศึ

กษาในกลุ

มนี้

อยู่

ที่

มิ

ติ

การมองปรากฏการณ์

และ

การหยิ

บยกชุ

มชนหรื

อกลุ

มคนที่

พยายามใช้

วั

ฒนธรรมเดิ

มของตนมาปรั

บเข้

ากั

กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนับตั้งแต่ปี 2537 เป็นต้นมา งานกลุ่มนี้ปรากฏ

มากขึ้

นเป็

นล�

ำดั

บ ซึ่

งอาจจะเกี่

ยวข้

องอย่

างส�

ำคั

ญกั

บการเกิ

ดขึ้

นของแนวคิ

วั

ฒนธรรมชุ

มชน/กระแสชุ

มชนเข้

มแข็

งและการตั้

งค�

ำถามกั

บนโยบายการพั

ฒนา

ที่

ผ่

านมาตลอดทั้

งการหั

นกลั

บมาสนใจองค์

ความรู้

ท้

องถิ่

นดั

งเช่

น งานศึ

กษา

ของสั

มฤทธิ์

ผิ

วนิ่

ม (2545) เรื่

อง ภูมิ

ปั

ญญาชาวบ้

านในการประกอบอาชี

พกรณี

ศึกษาเครือข่ายวนเกษตรและป่าชุมชนภาคตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทรา

6

พบว่า

การประกอบอาชีพทางการเกษตรไม่สามารถแยกออกจากการสั่งสมและถ่ายทอด

ภูมิ

ปั

ญญาซึ่

งอาศั

ยระยะเวลายาวนานและมี

การต่

อยอด นอกจากนี้

ยั

งมี

งานศึ

กษา

ที่

กล่

าวถึ

งภูมิ

ปั

ญญาชาวบ้

านในฐานะของการแก้

ไขปั

ญหาของชุ

มชนเรื่

องศั

กยภาพ

ภูมิปัญญาท้

องถิ่นในการแก้ปั

ญหาชุมชนโดยนฤมล บรรจงจิตร์

และคณะ (2547)

ศึ

กษาจากเครื

อข่

ายชุ

มชนและการรวมกลุ

มของชาวบ้

านในจั

งหวั

ดฉะเชิ

งเทรา

1 เครื

อข่าย 4 กลุ่ม

7

ส�

ำหรั

บประเด็

นทางเลื

อกการพั

ฒนางานศึ

กษาของอุ

ศนี

ย์

ธูปทอง (2543)

เรื่องศักยภาพของพื้นที่และทัศนคติที่มีต่อการท�

ำการเกษตรแนวทฤษฎีใหม่ศึกษา

ต.ผึ้

งหลวง อ.เฉลิ

มพระเกี

ยรติ

จ.สระบุ

รี

เน้

นศึ

กษาเรื่

องทั

ศนคติ

และปั

จจั

ยที่

เกี่

ยวข้องงานศึ

กษาของฉั

ตตริ

น บุ

ญเกิ

ด (2544) เรื่

องการศึ

กษาเรื่

องการพึ่

งตนเอง

ของกลุ

มเกษตรกรปลูกผั

กปลอดสารพิ

ษ ต.ห้

วยพระ จ.นครปฐม เป็

นการศึ

กษา

ความสามารถที่

จะพึ่

งตนเองให้

ได้

ในทางเศรษฐกิ

จและสั

งคมของผู้

ประกอบ

อาชี

พทางการเกษตรผ่

านการรวมกลุ

มเพื่

อเพิ่

มอ�

ำนาจการต่

อรอง อย่

างไรก็

ตาม

เนื่

องจากการขยายตั

วของงานศึ

กษาในกลุ่มนี้

มี

เพิ่

มมากขึ้

นจากการเป็นกระแสรอง

จนเรี

ยกได้

ว่

าเป็

นกระแสหลั

กของการพั

ฒนาในปั

จจุ

บั

น ทั้

งนี้

ในการประชุ

มทาง

6 วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต (สังคมสงเคราะห์ศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

7 นฤมล บรรจงจิตร์ (2547) ศักยภาพภูมิปัญญาท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหาชุมชน กรุงเทพฯ. : สถาบันวิจัย

สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย