190
ถกเถียงวัฒนธรรม
4.2 การพัฒนากับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต/วัฒนธรรม
ของกลุ่มคน
งานศึกษากลุ่มนี้ปรากฏในงานประเภทวิทยานิพนธ์เป็นส่วนใหญ่ โดยมอง
ว่
ากระบวนการพั
ฒนาน�
ำมาซึ่
งการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมซึ่
งลั
กษณะ
งานยั
งคงจ�
ำกั
ดอยู่
กั
บการอธิ
บายเชิ
งบรรยายปรากฏการณ์
ก่
อนหน้
าและสภาพ
ที่
เป็
นอยู่
ในปั
จจุ
บั
นมี
ลั
กษณะของการแบ่
งคู่
ตรงข้
ามเมื
องกั
บชนบท วั
ฒนธรรม
ในความหมายของกลุ
่
มงานศึ
กษานี้
ให้
คุ
ณค่
ากั
บความดี
งามในอดี
ตซึ่
งภายหลั
ง
ถูกแทนที่
ด้วยสิ่
งที่
เรี
ยกว่า ทุ
นนิ
ยม วั
ตถุ
นิ
ยมที่
มากั
บกระบวนการพั
ฒนา
งานศึ
กษาตั้
งแต่
ปี
พ.ศ.2537-2547 เป็
นการศึ
กษาภายใต้
แนวคิ
ดการวิ
เคราะห์
การเปลี่
ยนแปลงเชิ
งเดี่
ยว (linear perspective) คื
อการมองไปในทิ
ศทางใดทิ
ศทางหนึ่
ง
ในงานศึ
กษาสะท้
อนการบรรยายสภาพสั
งคมก่
อนทุ
นนิ
ยม ทั้
งด้
านชี
วิ
ตและ
ความเป็นอยู่ ความเชื่อ การผลิต และเมื่อการพัฒนาเข้าสู่ชุมชนท�
ำให้สภาพเดิม
ของชุ
มชนหมดไป น�
ำไปสู่
การเปลี่
ยนแปลงวิ
ถี
ชี
วิ
ต สภาพสั
งคม ชุ
มชน ที่
เกิ
ด
จากการรั
บเอาค่
านิ
ยมความทั
นสมั
ย ความเป็
นเมื
อง เข้
าไปแทนที่
วิ
ถี
ชี
วิ
ตดั้
งเดิ
ม
โดยกระบวนการดั
งกล่
าวเริ่
มต้
นจากการพั
ฒนาน�
ำโดยรั
ฐภายใต้
แผนพั
ฒนา
เศรษฐกิ
จและสั
งคมแห่
งชาติ
ซึ่
งด�
ำเนิ
นการในลั
กษณะพิ
มพ์
เขี
ยว เน้
นความทั
นสมั
ย
อย่างตะวั
นตก เป็นเสมื
อนเครื่
องมื
อหลั
กที่
ท�
ำให้วั
ฒนธรรมของชุ
มชนภาคกลางซึ่
ง
มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมถูกท�
ำลายลง งานศึกษาเหล่านี้มักใช้กรอบการ
วิ
เคราะห์ในทางเดี
ยวกั
นว่า แผนพั
ฒนาที่
เน้นการปลูกพื
ชเศรษฐกิ
จเชิ
งเดี่
ยวรวมถึ
ง
แผนการพั
ฒนาอุ
ตสาหกรรมในหลายพื้
นที่
ได้
ละเลยความแตกต่
างหลากหลาย
ทางวั
ฒนธรรมของประชาชน ท�
ำให้
เกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงค่
านิ
ยม ความเชื่
อของ
ชุ
มชนให้
สอดคล้
องรั
บกั
บนโยบายการพั
ฒนา เช่
นการพึ่
งพาเทคโนโลยี
สมั
ยใหม่
เพื่อเพิ่มผลผลิต ท�
ำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น เกษตรกรที่สามารถปรับตัวต่อระบบ
ดั
งกล่
าวได้
ก็
เข้
าสู่
การเป็
นแรงงานงานรั
บจ้
างหรื
อเปลี่
ยนอาชี
พเข้
าสู่
ภาคอุตสาหกรรม พวกที่ปรับตัวพอได้กลายเป็นผู้ผลิตรายใหม่ที่ผูกโยงกับกลไกล