งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
191
ตลาด (แต่งานศึ
กษาไม่ได้กล่าวถึ
งกลุ่มหลั
งนี้
มากนั
ก) ตั
วอย่างงานศึ
กษาในกลุ่มนี้
เช่
น มนตรี
คงเจริ
ญ (2536) ศึ
กษาผลกระทบของการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคม เศรษฐกิ
จ
ที่
มี
อิ
ทธิ
พลต่
อประมงชายฝั
่
ง ศึ
กษาชุ
มชนคลองด่
าน
1
พบว่
าการติ
ดต่
อกั
บสั
งคมเมื
อง
มีผลต่อการเติบโตของอาชีพประมง เช่นเดียวกับงานศึกษาของ ชนิ
กา วัฒนะคีรี
(2537) เรื่
อง จากสั
งคมชาวนาสู่
สั
งคมอุ
ตสาหกรรม ศึ
กษาการเปลี่
ยนแปลงที่
เกิ
ดขึ้
น
ในชุ
มชนไทเบิ้
ง จ.ลพบุ
รี
2
พบว่
าการที่
ชุ
มชนไทเบิ้
งซึ่
งให้
ภาพว่
าเป็
นชุ
มชนดั้
งเดิ
ม
ผูกพั
นด้
วยเครื
อญาติ
เกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงเนื่
องจากรั
ฐต้
องการพั
ฒนาประเทศ
สู่
ความก้
าวหน้
าทางอุ
ตสาหกรรม ชุ
มชนต้
องปรั
บเปลี่
ยนอาชี
พจากการท�
ำนามา
เป็นคนงานโรงงานอุตสาหกรรม หรืองานศึกษาของ วรณัย พงศาชลากร (2538)
เรื่
องพื
ชเศรษฐกิ
จกั
บการเปลี่
ยนแปลงทางวั
ฒนธรรม ศึ
กษาที่
บ้
านโคก ต.อู่
ทอง
จ.สุ
พรรณบุ
รี
3
โดยวิ
เคราะห์
ปั
จจั
ยที่
มี
ผลต่
อการเปลี่
ยนแปลงพื
ชเศรษฐกิ
จและ
อิ
ทธิ
พลการค้าแบบทุ
นนิ
ยม นอกจากนี้
สมคิ
ด จ�ำนงศร (2544) ได้ศึ
กษาเกี่
ยวกั
บ
การเปลี่ยนแปลงทางสั
งคมและวัฒนธรรมของชุมชนรอบสวนอุ
ตสาหกรรมโรจนะ
จ.พระนครศรี
อยุ
ธยา
4
สะท้อนถึ
งผลการศึ
กษาท�
ำนองเดี
ยวกั
นว่า การเปลี่
ยนแปลง
ทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมที่
เกิ
ดขึ้
นเนื่
องมาจากสภาพพื้
นที่
ที่
เปลี่
ยนจากเกษตรกรรม
เป็
นอุ
ตสาหกรรมตามนโยบายการพั
ฒนา ท�
ำให้
มี
โรงงานอุ
ตสาหกรรมเกิ
ดขึ้
น
ในชุ
มชนส่งผลต่อการเปลี่
ยนแปลงของชุมชนในหลากหลายมิ
ติ
งานศึ
กษาบางส่วนที่
ได้น�
ำเสนอข้างต้น สะท้อนให้เห็
นว่ามี
ลั
กษณะท�ำนอง
เดี
ยวกั
นคื
อการวิ
เคราะห์ภายใต้กรอบคิ
ดเรื่
อง การเปลี่
ยนแปลงทางวั
ฒนธรรมของ
ท้
องถิ่
นเกิ
ดจากการเติ
บโตของเมื
อง นโยบายและการพั
ฒนาอุ
ตสาหกรรม ตลอดทั้
ง
การเร่
งรั
ดพั
ฒนาชนบท ซึ่
งเน้
นการบรรยายเชิ
งโครงสร้
างที่
เป็
นแบบแผนเดี
ยวกั
นใน
แทบทุ
กพื้
นที่
กล่
าวคื
อ การสะท้
อนภาพเดี
ยวกั
นที่
แสดงถึ
งคลื่
นแห่
งการพั
ฒนาจาก
ภายนอกที่
ถาโถมเข้
าสู่
ชุ
มชนและท�
ำลายของวิ
ถี
ชี
วิ
ตชุ
มชนลง ซึ่
งอาจจะขาดมิ
ติ
ของ
1 วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
2 วิทยานิพน์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3 วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4 วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาวิชาพัฒนาชนบท) มหาวิทยาลัยมหิดล