Previous Page  190 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 190 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

189

แผนพั

ฒนาเศรษฐกิ

จและสั

งคมแห่

งชาติ

โดยเชื่

อมโยงประเด็

นวั

ฒนธรรมกั

บการ

พั

ฒนาใน 3 มิ

ติ

คื

มิติแรก

การให้ความส�

ำคั

ญกั

บการพั

ฒนาไปสู่ความทั

นสมั

(modernization) น�

ำมาซึ่

งการเปลี่

ยนแปลงทางวั

ฒนธรรมของผู้

คนในบริ

บทต่

างๆ

ไม่

ว่

าจะเป็

นเยาวชนกั

บวั

ฒนธรรมตะวั

นตก ชุ

มชนกั

บการกลายเป็

นเมื

อง หรื

อชนบท

กั

บการกลายเป็

นอุ

ตสาหกรรม รวมถึ

งงานศึ

กษาที่

กล่

าวถึ

งผลพวงจากสภาวะ

ดั

งกล่

าว เช่

น ปั

ญหาแรงงานในด้

านต่

างๆ ไม่

ว่

าจะเป็

นลั

กษณะการจ้

างงานที่

กล่

าวถึ

ความไม่เป็นธรรม ประเด็

นสุ

ขภาพ สวั

สดิ

การและสิ่

งแวดล้อม หรื

อปัญหาผลจาก

โครงการพั

ฒนาของรั

ฐที่

ส่งผลต่อผู้คนในท้องถิ่

มิติที่สอง

ได้แก่ งานศึ

กษาเรื่

อง

วั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนาที่

เริ่

มให้

ความสนใจวิ

ถี

ชี

วิ

ตผู้

คนในท้

องถิ่

นโดยเชื่

อมโยง

เข้

ากั

บแนวคิ

ดภูมิ

ปั

ญญาโดยให้

ความส�

ำคั

ญในฐานะอุ

ดมการณ์

การพั

ฒนา เป็

นการ

กล่าวถึ

งภูมิ

ปัญญา ในฐานะที่

เป็นกระบวนการสร้างองค์ความรู้และขบวนการเพื่

เปลี่

ยนแปลงสั

งคม ซึ่

งเกิ

ดขึ้

นเป็นกระแสในสั

งคมไทย ตั้

งแต่ปี 2524 หรื

อก่อนหน้า

โดยก่อตัวขึ้นจากการเคลื่อนไหวทางสังคมหลายส่วน โดยเฉพาะนั

กพัฒนาองค์กร

พั

ฒนาเอกชน (ปริ

ตตา เฉลิ

มเผ่า กออนั

นตกูล อ้างใน ศูนย์มานุ

ษยวิ

ทยาสิ

ริ

นธร,

2548)

มิติที่สาม

การศึ

กษาเชิ

งวาทกรรมโดยการกล่

าวถึ

งวั

ฒนธรรมและการพั

ฒนา

ในความหมายปฏิ

บั

ติ

การเชิ

งความรู้

และอ�

ำนาจที่

สะท้

อนการปะทะกั

นระหว่

าง

ความรู้

ท้

องถิ่

นและความรู้

ของผู้

เชี่

ยวชาญ โดยส่

วนหนึ่งได้

จากการศึ

กษาวิ

จั

เชิ

งปฏิ

บั

ติ

การ ซึ่

งท�

ำให้เข้าใจมิ

ติ

ที่

ซั

บซ้อนได้ชั

ดเจนขึ้

การท�

ำงานส�

ำรวจงานเขี

ยนในประเด็

นวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนาเฉพาะ

พื้

นที่ภาคกลาง (ยกเว้

นกรุ

งเทพมหานคร) เริ่มต้

นจากน�

ำมาจั

ดแบ่

งประเภท และ

สั

งเคราะห์ในมิ

ติ

ต่างๆ ดั

งต่อไปนี้

1. การพั

ฒนากั

บการเปลี่

ยนแปลงวิ

ถี

ชี

วิ

ต วั

ฒนธรรมของกลุ่มคน

2. วั

ฒนธรรมในฐานะเป็นอุ

ดมการณ์การพั

ฒนาแบบทางเลื

อก

3. วั

ฒนธรรมและการจัดการทรั

พยากร และสิ่

งแวดล้อม

4. บทบาทของวั

ฒนธรรมในการจั

ดการท่องเที่

ยว