Previous Page  18 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 18 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

17

ระบบตระกูลตามแบบเดิ

ม ส่วนในกรณี

ของชุ

มชนมอญ ไตยวน และโพล่ง ก็

เผชิ

ชะตากรรมที่

คล้ายๆ กั

ในแง่

นี้

อาจกล่

าวได้

ว่

าบริ

บทการพั

ฒนาได้

ลดความหลากหลายทาง

วั

ฒนธรรมของชุ

มชนชาติ

พั

นธุ

ลงไปบ้

าง แต่

ไม่

อาจกล่

าวได้

ว่

าท�ำให้

เหมื

อนๆ กั

ไปเสี

ยที

เดี

ยวเพราะกระบวนการปรั

บตั

วอาจจะหลากหลายกั

นไปซึ่

งยั

งไม่

มี

ข้

อมูล

สนั

บสนุ

นได้อย่างชั

ดเจน

อาจกล่

าวได้

ว่

าประเด็

นศึ

กษา จิ

ตส�

ำนึ

กและอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ

ของกลุ

ชาติ

พั

นธุ

ต่

างๆ ได้

มี

ความส�

ำคั

ญในการศึ

กษากลุ

มชาติ

พั

นธุ

ในช่

วงเวลาระหว่

าง

ทศวรรษของ 2530-2550 แล้

ว แต่

ปรากฏว่

านั

กวิ

จั

ยที่

ศึ

กษากลุ

มชาติ

พั

นธุ

ในภาคกลาง

น้อยรายที่ให้ความสนใจในประเด็นนี้ ท�ำให้ความรู้ในเรื่องนี้ยังมีน้อยมากทั้งที่เป็น

เรื่

องหลั

กในการที่

จะเข้าใจกลุ่มชาติ

พั

นธุ์ อย่างไรก็

ตามมี

งานบางงานที่

แสดงความ

สนใจในเรื่

องกลไกการเรี

ยนรู้

ความเป็

นลาวพวน และบางงานได้

เปรี

ยบเที

ยบให้

เห็

ความหลากหลายในเรื่องจิตส�ำนึ

ก อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ของลาวพวนซึ่งอยู่ระหว่าง

ความเป็นไทยและความเป็นลาวพวนในชุมชนลาวพวนที่ต่างถิ่นกัน ส่วนบางงาน

สื

บย้

อนไปในอดี

ตถึ

งการก่

อตั

วและพั

ฒนาอั

ตลั

กษณ์

ลาวพวนในบริ

บทการ

เปลี่

ยนแปลงในลั

กษณะความสั

มพั

นธ์

กั

บคนไทย และรั

ฐไทย ที่

เริ่

มจากการ

ดูถูกเหยี

ยดหยามมาสู่

การแต่

งงานข้

ามกลุ

มกั

นท�

ำให้

เกิ

ดความทั

บซ้

อนเชิ

อั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ

ระหว่

างการเป็

นคนไทยและการเป็

นลาวพวน มี

ลั

กษณะเป็

ทวิ

ลั

กษณ์

(double identity) ในลั

กษณะเดี

ยวกั

นกั

บที่

อาร์

โคห์

ลิ

น (R.Coughlin) เคย

ระบุ

ถึ

งอั

ตลั

กษณ์ชาติ

พั

นธุ์ของคนจี

นในประเทศไทย

ส�

ำหรั

บการศึ

กษาอั

ตลั

กษณ์ชาติ

พั

นธุ์ของลาวโซ่งมี

จ�

ำนวนน้อยกว่า แต่ได้มี

การพาดพิงถึงบ้าง อย่างเช่นในงานหนึ่

งซึ่งศึกษาหนองปรงได้กล่าวถึงค�

ำบอกเล่า

ของผู้

รู้

ลาวโซ่

งที่

แยกแยะความแตกต่

างระหว่

างลาวโซ่

ง ลาวพวน และลาวเวี

ยง

ที่ถูกอพยพเข้

ามาพร้

อมๆ กั

น แต่

ได้

แยกแยะตัวเองจากไทด�

ำในเวียดนามซึ่

งเป็

บรรพบุ

รุ

ษของตนเอง ส่

วนว่

าท�ำไมจึ

งถูกเรี

ยกว่

าลาวโซ่

ง และเรี

ยกตั

วเองว่

าลาวโซ่

มี

หลายข้

อสั

นนิ

ษฐาน แต่

งานหนึ่

งสั

นนิ

ษฐานว่

า ค�

ำว่

า “ลาว” คงมี

มานาน