14
ถกเถียงวัฒนธรรม
ได้
เข้
ามาตั้งถิ่
นฐานในภาคกลางของประเทศไทยตั้
งแต่
เมื่
อไร ที่
ไหน และอย่
างไร
แต่เมื่
อประมวลงานต่างๆ นั้
น เข้าด้วยกั
นแล้ว จะเป็นภาพรวมที่
น่าสนใจว่า ความ
หลากหลายทางชาติพันธุ์ และวัฒนธรรมในภาคกลาง เกิดขึ้นได้ด้วยเงื่อนไขของ
การท�
ำสงครามระหว่
างรั
ฐหรื
อเมื
องต่
างๆ ในเอเชี
ยตะวั
นออกเฉี
ยงใต้
ซึ่
งมี
ประเพณี
ของการอพยพและกวาดต้
อนผู้
คนเป็
นเชลยสงคราม กั
บการอพยพโดยสมั
ครใจทั้
งที่
เกี่
ยวเนื่
องกั
บสงครามที่
เกิ
ดขึ้
น หรื
อเป็
นการอพยพโดยสมั
ครใจเพื่
อแสวงหาที่
ท�
ำกิ
น
ที่
อุ
ดมสมบูรณ์กว่าถิ่
นเดิ
ม กลุ่มชาติ
พั
นธุ์ต่างๆ ที่
ถูกอพยพหรื
ออพยพโดยสมั
ครใจ
เข้
ามาอยู่
ในภาคกลางซึ่งท�ำให้
เกิ
ดความหลากหลายในเชิ
งชุ
มชนชาติ
พั
นธุ์
และใน
ทางวั
ฒนธรรมในปัจจุ
บั
นส่วนใหญ่ เกิ
ดขึ้
นไม่เกิ
น 300 ปีที่
ผ่านมา (เท่าที่
มี
ข้อมูล)
ส่วนความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์ (ไม่ได้นั
บคนไทยที่
อยู่มาก่อน) ในสมั
ยอยุ
ธยา
ตอนกลางและตอนปลาย ที่
ได้
ระบุ
ในหลั
กฐานทางประวั
ติ
ศาสตร์
รวมทั้
งที่
เป็
น
คนดั้
งเดิ
มและคนที่
อพยพเข้ามา คงจะได้ผสมผสานกลมกลื
นกั
นคนไทยในท้องถิ่
น
จนแยกแยะยาก
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ ที่
ยั
งรั
กษาวั
ฒนธรรมดั้
งเดิ
มไว้
จนเป็
นสี
สั
นความ
หลากหลายของภาคกลาง ส่วนใหญ่เข้ามาในช่วงต้นและกลางรัตนโกสินทร์ มีทั้ง
ที่พูดภาษาตระกูลย่อย ไท/ไต และภาษาอื่นๆ เช่น มอญ เขมร และจีน เป็นต้น
ส่
วนกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ที่
เข้
ามาอยู่
ตั้
งแต่
สมั
ยอยุ
ธยาได้
ผสมผสานกลมกลื
นกั
บคนไทยใน
ท้องถิ่
นไปมากแล้ว โดยอาจจะหลงเหลื
อสั
ญลั
กษณ์วั
ฒนธรรมดั้
งเดิ
มไว้บ้าง แต่คง
ต้
องอาศั
ยงานศึ
กษาทางชาติ
พั
นธุ
์
วรรณา ซึ่
งในขณะนี้
แทบไม่
มี
อยู่
ส่
วนใหญ่
งานที่
มี
เป็นการศึ
กษาที่
ตั้
งถิ่
นฐานหลั
งสมั
ยกรุ
งธนบุ
รี
มาแล้ว
ความหลากหลายทางวั
ฒนธรรมที่
มองเห็
นจะเป็
นความหลากหลายของ
ชุ
มชนชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ เนื่
องจากงานวิ
จั
ยแต่
ละงานจะเน้
นการศึ
กษาระดั
บจุ
ลภาค
คื
อ ชุ
มชนชาติ
พั
นธุ
์
เฉพาะพื้
นที่
ยั
งขาดการประมวลลั
กษณะร่
วมทางวั
ฒนธรรม
ของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์แต่ละกลุ่ม อย่างไรก็
ตามจากงานที่
มี
อยู่ผู้เขี
ยนพอจะประมวลได้
ว่
าภายในกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
แต่
ละกลุ่
ม มี
ความแตกต่
างทางวั
ฒนธรรมอยู่
บ้
าง อย่
างใน
“ลาวพวน” มั
กนิ
ยมตั้
งถิ่
นฐานอยู่ริ
มแม่น�้
ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่
งเป็นล�
ำน�้
ำธรรมชาติ