Previous Page  21 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 21 / 238 Next Page
Page Background

20

ถกเถียงวัฒนธรรม

สั

งเคราะห์

ร่

วมกั

นได้

คื

อจะมองเห็

นภาพความพยายามของนั

กวิ

จั

ย/พั

ฒนาที่

ท�

ำงาน

ร่

วมกั

บชุ

มชนต่

างๆ ตั้

งค�

ำถามกั

บผลกระทบของการพั

ฒนากระแสหลั

กตามนโยบาย

ของรัฐและพยายามจะหาทางเลือกในการพัฒนาที่เหมาะสมกับชุมชนของตนเอง

อย่

างเช่

น งานวิ

จั

ยเกี่

ยวกั

บการสื

บสร้

างประวั

ติ

ศาสตร์

วั

ฒนธรรมของชุ

มชน ชาวสวน

อั

มพวา ซึ่

งพบว่

าชุ

มชนดั

งกล่

าวมี

ประวั

ติ

ศาสตร์

มายาวนานที่

พึ่

งตนเอง แต่

การ

พั

ฒนาอุ

ตสาหกรรมในท้

องถิ่

นท�

ำให้

ชุ

มชนอ่

อนแอลงเรื่

อยๆ นั

กวิ

จั

ยโดยอาศั

ยวิ

ธี

วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบชุมชนมีส่วนร่วมท�ำให้ชุมชนเรียนรู้ร่วมกันในประวัติศาสตร์

วั

ฒนธรรมของตนเอง และช่

วยกั

นวิ

เคราะห์

ปั

ญหาและทางเลื

อกในการพั

ฒนาที่

เหมาะสมกั

บตนเอง น�

ำไปสู่ความเข้มแข็

งในการพึ่

งตนเองของชุ

มชนมากขึ้

คณะผู้

ประมวลและสั

งเคราะห์

ประเด็

นวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนาได้

ชี้

ให้

เห็

นว่

งานศึ

กษาในประเด็

นวั

ฒนธรรมกั

บการจั

ดการทรั

พยากรได้

แสดงประเด็

นและ

มุ

มมองที่

หลากหลายอย่

างเช่

น มี

ทั้

งงานที่

แสดงให้

เห็

นว่

าการพั

ฒนาโครงสร้

าง

พื้

นฐานเช่

นเขื่

อนป้

องกั

นน�้

ำเค็

ม ได้

เอื้

ออ�

ำนวยต่

อการพั

ฒนาเศรษฐกิ

จ และ

สิ่

งแวดล้

อมในท้

องถิ่

น และงานที่

แสดงว่

าโครงการรูปแบบการจั

ดการน�้

ำในพื้

นที่

ใกล้

เคี

ยงกั

นน�

ำไปสู่

ความขั

ดแย้

งระหว่

างคนกลุ

มต่

างๆ ในท้

องถิ่

นซึ่

งได้

หาทาง

แก้ไขร่วมกันด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการจากการสนับสนุ

นของสถาบันวิชาการจาก

ภายนอก ส่

วนบางงานก็

น�ำเสนอภาพผลกระทบของวั

ฒนธรรมท้

องถิ่

นจากนโยบาย

ส่งเสริมการเกษตรของทางราชการและการพัฒนาอุตสาหกรรมคือวัฒนธรรมการ

ท�

ำตาลของเพชรบุ

รี

และระบบนิ

เวศได้

รั

บผลกระทบจากการส่

งเสริ

มการท�

ำนาปี

ละ

2 ครั้

ง หรื

อ การอนุ

ญาตให้ใช้พื้

นที่

ท�

ำโรงงานอุ

ตสาหกรรมเป็นต้น

ส่

วนในประเด็

น การอนุรั

กษ์

วั

ฒนธรรมและการบริ

หารจั

ดการท่

องเที่

ยวใน

บริ

บทของการพั

ฒนาได้

มี

การตั้

งข้

อสั

งเกตว่

า กระบวนการพั

ฒนาความทั

นสมั

ตั้

งแต่

หลั

งสงครามครั้

งที่

2 เป็

นต้

นมา ได้

ส่

งผลกระทบต่

อวิ

ถี

ชี

วิ

ตของประชากร

ในเขตเมื

อง ในหลายแง่ด้วยกั

น เช่น มี

ชี

วิ

ตที่

เร่งรี

บ แข่งขั

น และเอารั

ดเอาเปรี

ยบ

มีความตึงเครียด มีความโดดเดี่ยวทางสังคม และเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลง

อย่

างรวดเร็

ว เกิ

ดความรู้

สึ

กโหยหาอดี

ตใฝ่

ฝั

นอยากกลั

บไปสู่

ความเรี

ยบง่

าย มี

น�้

ำใจ