งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
15
และมี
วิ
ถี
ชี
วิ
ตดั้
งเดิ
มที่
ท�
ำนาเป็
นหลั
กโดยมี
อาชี
พเสริ
มหลากหลายกั
นไป เช่
น ค้
าขาย
ปลูกไผ่ และรั
บจ้าง หรื
อบางแห่งอย่างเช่น ที่
บ้านหมี่
มี
การทอผ้าเป็นอาชี
พส�
ำคั
ญ
แบบแผนดั้
งเดิ
มนี้
มี
การเปลี่
ยนแปลงในหลายชุ
มชนที่
สั
ดส่
วนของครั
วเรื
อนที่
ท�ำนาลด
น้อยลง อย่างเช่นที่
หิ
นปัก อ.บ้านหมี่
เหลื
อครั
วเรื
อนที่
ท�
ำนาเป็นหลั
กเพี
ยง 46.8%
ซึ่งส่วนใหญ่ก็เหมือนชาวนาในภาคกลางที่มีหนี้สินในระดับที่สูง เมื่อพิจารณางาน
ต่างๆ ในประเด็
นที่
เกี่
ยวกั
บการจั
ดระเบี
ยบสั
งคม (แบบแผนครอบครั
ว การแต่งงาน
และความสั
มพั
นธ์
ทางสั
งคมอื่
นๆ) พบว่
ามี
น้
อยมาก นั
กวิ
ชาการที่
เขี
ยนเรื่
องนี้
มั
ก
เป็นนั
กมานุษยวิทยา ท�
ำให้
พอเห็นภาพบ้
างว่
าในวัฒนธรรมของลาวพวน ผู้
หญิง
เป็นแกนกลางของครอบครั
ว และเครื
อญาติ
มี
ความส�
ำคั
ญต่อวิถี
ชี
วิ
ตของลาวพวน
ลั
กษณะส�
ำคั
ญทางวั
ฒนธรรมที่
ลาวพวนมี
ร่
วมกั
นก็
คื
อความเชื่
อเรื่
องผี
ดั้
งเดิ
ม
ผสมผสานกั
บความเชื่
อและพิ
ธี
ในพุ
ทธศาสนา ซึ่
งการผสมผสานนี้
มี
ความหลากหลาย
แตกต่
างกั
นในแต่
ละชุ
มชน/ท้
องถิ่
น แต่
พิ
ธี
ที่
เก่
าแก่
และแสดงความเป็
นพวนมากที่
สุ
ด
ในมุ
มมองของลาวพวน คื
อ “พิ
ธี
บุ
ญก�
ำฟ้า” ซึ่
งมี
รากฐานความเชื่
อในเรื่
อง “ผี
ฟ้า”
ที่มีความส�ำคัญต่อความอุดมสมบูรณ์ของชุมชน ที่จริงงานวิจัยบางงานได้ระบุว่า
ในบางท้องถิ่
นได้เลิ
กปฏิ
บั
ติ
ไปบ้างแล้ว แต่ได้มี
การฟื้นฟูกั
นขึ้
นมาใหม่
ตั
วอย่
างกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
อี
กกลุ
่
มหนึ่งที่
พอจะยกขึ้
นมาเปรี
ยบเที
ยบได้
ก็
คื
อ
“ลาวโซ่ง” ซึ่
งถูกอพยพหรื
ออพยพเข้ามาในเวลาใกล้เคี
ยงกั
บ “ลาวพวน” และพูด
ภาษาตระกูลไทเหมื
อนกั
น และจากประสบการณ์ของ “ลาวโซ่ง” ที่
อายุ
เกิ
น 60 ปี
ได้บอกว่าพูดภาษากั
บลาวพวนรู้เรื่
องกั
นประมาณ 2 ใน 3 แต่ลาวโซ่งมี
เอกลั
กษณ์
วั
ฒนธรรมที่
แตกต่
าง “ลาวพวน” ทั้
งในแง่
ภาษา การแต่
งกาย การจั
ดระเบี
ยบสั
งคม
ซึ่
งถื
อและสื
บผี
ข้
างพ่
อ ที่
ท�
ำให้
แตกต่
างจาก “ลาวพวน” และจากกลุ
่
มคนที่
พูดภาษา
ตระกูลไทอื่
นๆ ด้
วย เพราะลาวโซ่
งมี
พิ
ธี
เสนเรื
อน (การเซ่
นไหว้
ผี
เรื
อน ซึ่
งเป็
นผี
ข้
างพ่
อ)
เป็นสัญลักษณ์
ที่ส�
ำคัญของกลุ่
ม นอกจากนี้แบบแผนการตั้งถิ่นฐานแตกต่
างจาก
ลาวพวนที่นิ
ยมอยู่ตามลุ่มน�้ำ แต่ลาวโซ่งถือการตั้
งถิ่
นฐานตามแบบดั้
งเดิม คื
ออยู่
เชิ
งเขาหรื
อที่
ดอน ซึ่
งมี
ห้
วยน�้
ำซั
บ เมื่
อพิ
จารณางานวิ
จั
ยซึ่
งศึ
กษาชุ
มชนลาวโซ่
ง
ในถิ่นต่างๆ กัน พบว่าส่วนใหญ่ได้ตั้งถิ่นฐานตามความคิดความเชื่อดั้งเดิม แต่มี