Previous Page  19 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 19 / 238 Next Page
Page Background

18

ถกเถียงวัฒนธรรม

พอสมควร (เพราะลาวโซ่งบางส่วนได้ถูกอพยพไปไว้บริเวณใกล้เวียงจันทร์มาก่อน

แล้

ว) เพราะมี

ค�

ำพั

งเพยของลาวโซ่

งว่

า “บ่

เคยอิ้

นกอน ฟ้

อนแถน บ่

แม่

นผู้

ลาว” ส่

วน

ในช่วงเวลาที่ศึกษานั้

นปรากฏว่ามีความหลากหลายในเรื่องอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ใน

ชุมชนหนองปรง ผู้

อาวุโสลาวโซ่

งมีความภูมิใจในความเป็นลาวโซ่

งโดยทั่วไป แต่

เมื่อพูดภาษาลาวโซ่

งกั

นก็

จะเรี

ยกตนเองว่

า “ผู้

ลาว” ส่

วนลาวโซ่

งที่อายุ

น้

อยกว่

40 ปี มี

ความรู้สึ

กที่

หลากหลาย แต่ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เรี

ยกตั

วเองว่า “โซ่ง” หรื

“ไทยโซ่ง” เพราะไม่ชอบถูกเรี

ยกว่า “ลาว”

แม้

ว่

างานศึ

กษาชุ

มชน “มอญ” ในประเด็

นนี้

จะมี

น้

อยงานแต่

เป็

นงานที่

ศึ

กษา

ในประเด็

นนี้

โดยตรง ซึ่

งศึ

กษาชุ

มชนมอญบ้

านม่

วงและแสดงให้

เห็

นว่

ามอญบ้

านม่

วง

มี

อั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ

ที่

ซั

บซ้

อน คื

อมี

ทั้

งความเป็

นมอญและความเป็

นไทยควบคู่

กั

นไป

ซึ่

งแสดงออกผ่

านสั

ญลั

กษณ์

วั

ฒนธรรมในรูปลั

กษณ์

ต่

างๆ เช่

นภาษา และการแต่

งกาย

กลไกส�

ำคั

ญในการธ�

ำรงอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ

ความเป็

นมอญก็

คื

อการเรี

ยนรู้

ผ่

าน

ครอบครั

ว และการถื

อปฏิ

บั

ติ

ทางพิ

ธี

กรรมต่างๆ เช่นพิ

ธี

เลี้

ยงผี

และพิ

ธี

ร�

ำผี

เป็นต้น

ซึ่

งนั

กวิ

จั

ยได้

ตั้

งข้

อสั

งเกตว่

าจิ

ตส�

ำนึ

กชาติ

พั

นธุ

ของคนรุ

นหลั

งจะเอนเอี

ยงมาทาง

ความเป็

นไทยมากกว่

าความเป็

นมอญ ส่

วนอี

กงานหนึ่

งซึ่

งศึ

กษามอญบางกระดี่

ได้

เสนอว่

ามอญได้

ธ�

ำรงอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ์

ผ่

านประเพณี

และความเชื่

อโดยแสดงออก

ผ่านสั

ญลั

กษณ์ทางวั

ฒนธรรมเช่นการแต่งกายแบบมอญไปวั

ด การสวดแบบมอญ

การถื

อผี

บรรพบุ

รุ

ษและการรั

กษาประเพณี

สงกรานต์แบบมอญ

วั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนาเป็

นประเด็

นที่

ส�

ำคั

ญอี

กประเด็

นหนึ่

งในการที่

จะ

เข้าใจการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในภาคกลาง ซึ่งใน

บางส่วนได้พอเห็นภาพผ่านการปรับตัวทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ต่อ

กระบวนการพั

ฒนาอย่

างเช่

น การคมนาคมและการขนส่

งแบบทั

นสมั

ย กระบวนการ

ผลิ

ตทางการเกษตรเชิ

งพาณิ

ชย์ การพั

ฒนาฐานเศรษฐกิ

จสู่การอุ

ตสาหกรรม และ

พั

ฒนาการของระบบตลาดท�

ำให้

เกิ

ดการเปลี่

ยนแปลงวิ

ถี

ชี

วิ

ตในชุ

มชนชาติ

พั

นธุ

ต่างๆ ซึ่งไม่ได้รวมคนไทยดั้งเดิมในภาคกลาง ภาพที่เห็นจึงเป็นส่วนเสี้ยวของการ

เปลี่

ยนแปลงทางวั

ฒนธรรมในภาคกลางอั

นเกี่

ยวเนื่

องกั

บการพั

ฒนา ในหั

วข้

อนี้