งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
13
ทางการเมื
องในช่วงระหว่างพ.ศ.2493-2533 ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย ส�
ำหรั
บ
ภาคกลาง อมรา พงศาพิ
ชญ์
และคณะ (Pongsapich et al. 1993) เป็
นผู้
ประมวลและ
สั
งเคราะห์งานวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้องต่างๆ ในภาคกลาง ซึ่
งครอบคลุ
มจั
งหวั
ด 25 จั
งหวั
ด
ที่
จ�
ำแนกได้เป็น 4 เขตย่อยคื
อทางเขตตะวั
นตก ตอนกลางล่าง ตอนกลางบน และ
ทางด้านตะวันออกตามลักษณะเด่นทางภูมิศาสตร์และคุณลักษณะทางทรัพยากร
และได้
น�
ำเสนอภาพรวมของยุ
ทธศาสตร์
การพั
ฒนา และล�ำดั
บขั้
นของพั
ฒนาการเชิ
ง
พาณิ
ชย์ในช่วงเวลาต่างๆ ซึ่
งได้ส่งผลกระทบต่อระบบคุ
ณค่าของผู้คนในภาคกลาง
การประเมิ
นและสั
งเคราะห์
งานวิ
จั
ยทางวั
ฒนธรรมในคราวนี้
เมื่
อเปรี
ยบเที
ยบ
กั
บการประเมิ
นและสั
งเคราะห์
งานที่
ผ่
านมานั
บว่
าครอบคลุ
มประเด็
นต่
างๆ มากกว่
า
เดิ
มเพราะมี
โจทย์
ทางวั
ฒนธรรมที่
หลากหลายเกี่
ยวข้
องกั
บกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
การพั
ฒนา
พลั
งภูมิ
ปั
ญญา และศิ
ลปะ จึ
งน่
าช่
วยท�
ำให้
ผู้
ที่
สนใจงานวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมในภาคกลาง
มองเห็
นงานในช่วงเวลา 2530-2550 ในหลายมิ
ติ
มากขึ้
นกว่าเดิ
ม อย่างไรก็
ตามใน
หนั
งสื
อเล่
มนี้
สามารถน�
ำเสนอได้
เพี
ยง 2 ประเด็
น คื
อ ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
และวั
ฒนธรรม กั
บ วั
ฒนธรรมและการพั
ฒนาในภาคกลาง
จากการทบทวนงานวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมแต่
ละงานเกี่
ยวกั
บกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ
ในภาคกลางในช่วงเวลาที่
ได้ก�
ำหนดไว้นั้
น ผู้วิ
จั
ย (ฉวี
วรรณ ประจวบเหมาะ) ได้ตั้
ง
ข้อสั
งเกตว่างานวิ
จั
ยได้ครอบคลุ
มวั
ฒนธรรมของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ถึ
ง 20 กลุ่มด้วยกั
น
แต่
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ ได้
รั
บความสนใจจากนั
กวิ
ชาการแตกต่
างกั
นไป กลุ
่
ม
ชาติ
พั
นธุ
์
ที่
มี
งานศึ
กษามากที่
สุ
ดคื
อ มอญ กะเหรี่
ยง จี
น ลาวพวน และลาวโซ่
ง
ตามล�
ำดั
บ ทั้
งนี้
มี
ข้
อสั
งเกตว่
าในการประเมิ
นและสั
งเคราะห์
งานนี้
ไม่
ได้
นั
บรวม
งานวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมเกี่
ยวกั
บกลุ่มคนไทยภาคกลางด้วย
3
ผู้เขี
ยนได้ตั้
งข้อสั
งเกตว่างานวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมเกี่
ยวกั
บกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ต่างๆ ใน
ภาคกลางแต่
ละงานที่
ท�
ำในช่
วงเวลาดั
งกล่
าวนั้
น ไม่
ได้
ให้
ความสนใจต่
อการอธิ
บาย
ความเป็นมาของความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์ โดยตรง เพราะแต่ละงานเน้นการ
พรรณนาความเป็นมาของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์แต่ละกลุ่ม เช่น ลาวโซ่ง หรื
อลาวพวน ว่า
3 ตามข้อตกลงของคณะอนุ
กรรมการด�
ำเนิ
นงาน