Previous Page  13 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 13 / 238 Next Page
Page Background

12

ถกเถียงวัฒนธรรม

การศึ

กษาวั

ฒนธรรมในภาคกลางในช่

วงก่

อนทศวรรษ 2530 ได้

เน้

นการศึ

กษา

วั

ฒนธรรมของชุ

มชนชาวนาไทยเป็

นหลั

ก โดยมี

การศึ

กษาชุ

มชนจี

น และชุ

มชนมอญ

บ้าง งานวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมชุ

มชนในภาคกลาง ส�

ำคั

ญๆ ซึ่

งเน้นการศึ

กษาภาคสนาม

ที่นั

กมานุษยวิทยาเรียกว่า “การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม” เป็นงานที่เกิดจาก

โครงการวิ

จั

ยบางชั

นของมหาวิ

ทยาลั

ยคอร์

แนลล์

สหรั

ฐอเมริ

กา ซึ่

งเริ่

มในปี

พ.ศ.2490

ที่

มี

ลอว์ริ

สตั

น ชาร์ป (Lauriston Sharp) เป็นหั

วหน้าโครงการ โดยมี

เป้าหมายส�

ำคั

ที่

จะศึ

กษาผลกระทบของเทคโนโลยี

สมั

ยใหม่

ต่

อชุ

มชนชนบทภาคกลาง ลั

กษณะงาน

วิจัยในโครงการนี้

จึ

งมิติ

หลายๆ มิ

ติ

ประกอบกัน คือพิ

จารณาทั้

งกระบวนการทาง

ประวั

ติ

ศาสตร์ โครงสร้างสั

งคม และวิ

ถี

ชี

วิ

ตชุ

มชน อย่างเช่น การเลี้

ยงลูก ลั

กษณะ

บุคลิกภาพร่วมของชาวนาไทย การเกษตรกรรมและสุขภาวะอนามัย โดยมีโจทย์

ส�

ำคั

ญว่

ากระบวนการพั

ฒนาการไปสู่

ความทั

นสมั

ยทั้

งในแง่

เศรษฐกิ

จ (เช่

นการตลาด

และขนส่ง) เทคโนโลยี

การเกษตร เทคโนโลยี

ในการรั

กษาพยาบาล ได้ส่งผลกระทบ

ต่อโครงสร้างสั

งคม ค่านิ

ยม และบุ

คลิ

กภาพ ของชาวนาในภาคกลางอย่างไรบ้าง

ซึ่งโจทย์เหล่านี้ได้พัฒนาการไปสู่ประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับชุมชนชนบท

ในเชิ

งวั

ฒนธรรมในภาคกลาง

อย่างไรก็ตาม ในทศวรรษของ 2500 และ 2510 การศึ

กษาวั

ฒนธรรมชุ

มชน

ชนบทไทยในภาคกลางของนั

กมานุ

ษยวิ

ทยาอเมริ

กั

นเริ่

มลดน้

อยลง แต่

ได้

ขยายความ

สนใจไปที่ภาคเหนือและภาคอีสานเป็นหลัก แต่พื้นที่ภาคกลางยังเป็นความสนใจ

ของสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เน้นการศึกษาชุมชนชนบทใน

จั

งหวั

ดอยุ

ธยาเป็

นหลั

ก และมี

ประเด็

นหลั

กในเรื่

องความสั

มพั

นธ์

ของการพั

ฒนาที่

มี

ต่

อสถาบั

นทางสั

งคมและวั

ฒนธรรมในชุ

มชน แต่

ไม่

ได้

มี

การประมวลและสั

งเคราะห์

งานให้เห็

นภาพรวมของงานที่

ท�

ำในช่วงสองทศวรรษนี้

ในปี พ.ศ.2532 โครงการศึ

กษาประเทศไทยในปี 2010 (คริ

สต์ศั

กราช)

2

ได้

เอื้

ออ�

ำนวยให้มี

การประมวล และสังเคราะห์งานวิ

จั

ยต่างๆ ตั้

งแต่หลั

งสงครามโลก

ครั้

งที่

2 เป็นต้นมาใน เรื่

อง “การเปลี่

ยนแปลงสั

งคมและวั

ฒนธรรมและพั

ฒนาการ

2

โครงการ “Socio-cultural Change and Political Development in Thailand” ซึ่

งได้

รั

บการสนั

บสนุ

นจากองค์

การบริ

หาร

วิ

เทศกิ

จแห่งประเทศแคนาดา และมูลนิ

ธิ

สถาบั

นวิ

จั

ยเพื่

อการพั

ฒนาประเทศไทย