งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
169
ประจวบเหมาะ และ วรานั
นท์
วรวิ
ศว์
(2543)
14
ซึ่
งได้
เขี
ยนในบทที่
1 (หน้
า 3)
ถึ
งการพานักศึ
กษาออกภาคสนามเพื่
อฝึ
กการวิ
จั
ยโดยต้
องการจะไปศึ
กษาเรื่
อง
“การใช้
ทรั
พยากรป่
า” แต่
ในกระบวนการออกส�
ำรวจ
15
ก็
พบว่
าการใช้
ทรั
พยากรป่
ามี
น้
อยลง และชาวบ้
านเองซึ่
งมี
ประสบการณ์
กั
บนั
กวิ
จั
ยมาหลายคนที่
มั
กจะสนใจเรื่
อง
ประเพณี
พิ
ธี
กรรมก็
ชอบที่
จะคุ
ยเรื่
องประเพณี
พิ
ธี
กรรมมากกว่
าคุ
ยเรื่
องป่
า
ในที่
สุ
ดที
มวิ
จั
ยก็
ตกลงกั
นว่า จะพยายามเข้าใจวิ
ถี
ชี
วิ
ตชุ
มชนในเบื้
องต้นโดยเฉพาะ
มิติที่ชาวบ้านเห็นส�
ำคัญคือครอบคลุมชีวิตทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ทางสังคม
ความเชื่
อ และพิ
ธี
กรรมที่
ส�ำคั
ญต่
างๆ งานนี้
จึ
งไม่
ได้
เน้
นการตอบค�
ำถามทางทฤษฎี
เป็
นส�
ำคั
ญ แต่
เน้
นภาพชี
วิ
ตชุ
มชนลาวโซ่
ง หนองเลา เป็
นหลั
ก และไม่
ได้
ระบุ
แนวคิ
ด
โดยตรง ในตอนแรก หากพอจะมองเห็นในตอนท้ายก็คือ พิจารณาความสัมพันธ์
ระหว่
างกิ
จกรรมทางเศรษฐกิ
จ เช่
นการระดมแรงงานและระดมทุ
นกั
บการจั
ดระเบี
ยบ
สั
งคมผ่
านมโนทั
ศน์
การปรั
บตั
ว ท�
ำให้
งานศึ
กษาวิ
ถี
ชี
วิ
ตชุ
มชนนี้
มี
ลั
กษณะเป็
น
พลวั
ตมากกว่
างานข้
างต้
น 2 งาน (ซึ่
งมองผ่
านมโนทั
ศน์
โครงสร้
างสั
งคม และการหน้
าที่
)
และวิ
เคราะห์
ความสั
มพั
นธ์
ของมิ
ติ
ที่
แตกต่
างออกไป ในงานนี้
จึ
งพยายามแสดง
หลั
กฐานให้
เห็
นความแตกต่
างในความส�
ำคั
ญของการเป็
นญาติ
และความสั
มพั
นธ์
ที่
มิ
ใช่
ญาติ
ในแบบแผนการระดมแรงงาน และทุ
นของกลุ
่
มชาวนาที่
มี
ฐานะแตกต่
างกั
น
ซึ่
งท�
ำให้
เห็
นความซับซ้
อนของการปฏิบัติการภายใต้
อิ
ทธิ
พลการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิ
จที่
กดดั
นจากภายนอก นอกจากนี้
งานนี้
ได้
ตั้
งข้
อสั
งเกตเกี่
ยวกั
บพลั
ง
วั
ฒนธรรมดั้
งเดิ
ม เช่
น พิ
ธี
เสนเรื
อน การแต่
งกาย และภาษา ซึ่
งมี
ผลต่
อคนต่
างรุ
่
น ใน
ลั
กษณะที่
แตกต่
างกั
นระหว่
างคนรุ
่
นก่
อนกั
บคนรุ
่
นหลั
ง แต่
ปั
ญหาก็
คื
อว่
า มี
หลั
กฐาน
เกี่
ยวกั
บคนรุ
่
นหลั
งน้
อย ฉะนั้
นวิ
ถี
ชี
วิ
ตชุ
มชนในงานนี้
ก็
เหมื
อนกั
บ 2 งานแรก คื
อแสดง
วิ
ถี
ชี
วิ
ตของคนรุ่
นก่
อน ซึ่
งใกล้
จะเป็
นอดี
ต และให้
ความสนใจน้
อยกั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตของคน
รุ
่
นหลั
ง ซึ่
งจะเป็
นอนาคต ท�
ำให้
ภาพวิ
ถี
ชี
วิ
ตชุ
มชนอาจจะแสดงเพี
ยงครึ่
งเดี
ยว หรื
ออาจ
จะบิ
ดเบี้
ยวไป ในแง่นี้
อาจจะประเมิ
นได้ว่า โจทย์อาจจะยั
งไม่ชั
ดเจนอย่างสมบูรณ์
ที่
จะแสดงวิ
ถี
ชี
วิ
ตชุ
มชน ท�ำให้เกิ
ด “ภาพลวงตา” การแช่แข็
งทางวั
ฒนธรรมขึ้
น
14 งานนี้
ไม่
ใช่
เป็
นงานวิ
จั
ยโดยตรง แต่
เป็
นผลจากการฝึ
กนั
กศึ
กษาปฏิ
บั
ติ
งานวิ
จั
ยภาคสนาม ซึ่
ง ฉวี
วรรณ และ
วรานั
นท์ ช่วยกั
นเขี
ยนให้ออกเป็นรายงานการวิ
จั
ย – ดูค�
ำแถลง
15 พื้
นที่
นี้
เป็นบริ
เวณเดี
ยวกั
บที่
มยุ
รี
วั
ดแก้ว (2521) ได้ศึ
กษา งานนี้
เก็
บข้อมูลประมาณ 10 ปี หลั
งจากนั้
น