Previous Page  176 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 176 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

175

สั

งเกตประกอบการสั

มภาษณ์ จะท�

ำให้เห็

นพฤติ

กรรมที่

เป็นจริ

งมากขึ้

น นอกจากนี้

ในปัจจุบันการเอาชุมชนเป็นหน่วยวิเคราะห์ที่ตายตัวอาจจะไม่เหมาะสมกับความ

ลื่

นไหลของผู้

คน และการแสวงหาแบบแผนและเอกภาพของชุ

มชนมากไปก็

อาจจะ

ท�

ำให้เกิ

ด “ภาพลวงตา” ได้ น่าจะพิ

จารณาความหลากหลายในชุ

มชนด้วย

แม้

ว่

าเริ่

มมี

งานศึ

กษาการปรั

บตั

วทางวั

ฒนธรรมบ้

างแล้

วแต่

ยั

งไม่

มาก

เพี

ยงพอ เรื่

องนี้

เป็

นเรื่

องส�

ำคั

ญเพราะชุ

มชนชาติ

พั

นธุ

ส่

วนใหญ่

เหล่

านี้

เผชิ

ญหน้

กั

บกระแสโลกาภิ

วั

ฒน์

ทั้

งในฐานะที่

เป็

นสั

งคมชาวนาและเป็

น “กลุ

มชาติ

พั

นธุ

ซึ่งแตกต่

างจากสังคมใหญ่

ท�

ำให้มีประเด็นน่

าสนใจว่

า แล้วกลุ่

มชาติพันธุ์เหล่านี้

จะมี

ความแตกต่

างมากน้

อยเพี

ยงใด ในเรื่

องกลไกทางวั

ฒนธรรมที่

จะปรั

บตั

กั

บการเปลี่

ยนแปลงที่

เกิ

ดขึ้

จึ

งเป็

นที่

น่

าสั

งเกตว่

า ประเด็

นจิ

ตส�

ำนึ

กและอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ์

ในบริ

บทของ

รั

ฐไทยดูจะยั

งไม่

เป็

นที่

สนใจของนั

กวิ

จั

ยนั

ก ซึ่

งอาจจะเป็

นเพราะว่

าไม่

มี

ปรากฎการณ์

โดดเด่นในภาคกลาง อย่างไรก็ตามก็ควรมีการศึกษาความเป็นชาติพันธุ์ของกลุ่ม

ต่างๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่ส�ำคัญในการเข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์เพิ่มเติมไปจากการศึกษา

แต่

ชุ

มชนชาติ

พั

นธุ์

ด้

วย นอกจากนี้

ความหลากหลายในเรื่

องจิ

ตส�

ำนึ

กและอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ์ควรได้รั

บการพิ

จารณาอย่างถ่องแท้ต่อไป