172
ถกเถียงวัฒนธรรม
สองน่
าจะเหมาะสมแล้
วกั
บประเด็
นศึ
กษา นอกจากนี้
งานนี้
ยั
งใช้
วิ
ธี
เก็
บข้
อมูลที่
หลากหลาย คื
อ เก็
บข้
อมูลจากเอกสาร การสั
งเกตและสั
มภาษณ์
แบบไม่
เป็
นทางการ
ในการน�
ำเสนอภาพความสั
มพั
นธ์
ของการเปลี่
ยนแปลงดั
งกล่
าว ผู้
วิ
จั
ยได้
น�
ำเสนอบริ
บทของการเปลี่
ยนแปลงโดยรวม คื
อ สภาพพื้
นที่
และประวั
ติ
ศาสตร์
ท้
องถิ่
น
ของจั
งหวั
ด อ�
ำเภอ ต�
ำบล และหมู่
บ้
าน โดยชี้
ให้
เห็
นว่
าลาวครั่
งเป็
นประชากรส่
วนใหญ่
ของบ้
านโคก และได้
น�
ำเสนอความเป็
นมาของลาวครั่
งที่
บ้
านโคก ซึ่
งได้
ให้
รายละเอียดเป็นอย่างดี มีประโยชน์ต่อการเข้าใจลาวครั่งบ้านโคก ในบริบทที่เป็น
หมุ่บ้านหนึ่
ง ภายใต้การปกครองของรัฐไทย นอกจากนี้
ก็น�
ำเสนอการจัดระเบียบ
สั
งคมภายในชุ
มชน เช่
น ลั
กษณะครอบครั
วและเครื
อญาติ
การแต่
งงาน การสื
บทอด
มรดก การแบ่งแรงงานในครัวเรือน กลุ่มสังคมต่างๆ เช่นกลุ่มแลกเปลี่ยนแรงงาน
และกรรมการวั
ด และชนชั้
นทางสั
งคม ที่
ส�
ำคั
ญได้
น�
ำเสนอระบบความเชื่
อ และ
พิ
ธี
กรรมของชุ
มชนซึ่
งมี
ทั้
งความเชื่
อและพิ
ธี
กรรมทางศาสนาพุ
ทธ กั
บความเชื่
อ
และพิ
ธี
กรรมทางผี
ซึ่
งเป็
นความเชื่
อดั้
งเดิ
ม โดยมี
รายละเอี
ยดที่
ท�
ำให้
เข้
าใจความคิ
ด
และชี
วิ
ตลาวครั่
งเป็
นอย่
างดี
และในบทส�
ำคั
ญก็
ได้
น�
ำเสนอการเปลี่
ยนแปลงของ
ระบบเศรษฐกิจ ซึ่งจัดแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลา ในแง่ของข้อมูลแล้วงานนี้
นับว่า
ดีมาก แต่ปรากฎว่ายังไม่ได้ตอบโจทย์ของตัวเองอย่างสมบูรณ์เกี่ยวกับผลกระทบ
ของพื
ชเศรษฐกิ
จ และการผลิ
ตทางการค้าที่
มี
ต่อระบบวั
ฒนธรรมของชุ
มชน ท�
ำให้
น�
ำมาใช้
ประโยชน์
ในการสั
งเคราะห์
ประเด็
นเรื่
องการเปลี่
ยนแปลงและการปรั
บ
ตั
วทางวั
ฒนธรรมได้
น้
อย หากใช้
งานนี้
ในประเด็
นเรื่
องวิ
ถี
ชี
วิ
ตชุ
มชนงานนี้
นั
บว่
า
สมบูรณ์
แบบ เพราะเพี
ยบพร้
อมด้
วยข้
อมูลที่
ช่
วยให้
เข้
าใจชี
วิ
ตชุ
มชนลาวครั่
งที่
บ้
านโคก
ปั
ญหาส�
ำคั
ญของงานก็
คื
อไม่
ได้
ใช้
แนวคิ
ดที่
กล่
าวอ้
างมาเป็
นกรอบในการ
เก็
บข้
อมูล และวิ
เคราะห์
ข้
อมูล กลั
บใช้
วิ
ธี
การที่
ไม่
เหมาะสมเพื่
อตอบโจทย์
วิ
จั
ย
กล่าวคือ พยายามตอบตามสมมุติฐาน 9 ข้อ ที่น�
ำไปสู่การเกิดพืชพาณิ
ชย์
เช่
น
สนธิ
สั
ญญาบาวริ่
ง ทุ
นนิ
ยม แผนพั
ฒนาสั
งคม และเศรษฐกิ
จสั
งคมแห่งชาติ
และ
การเปลี่
ยนแปลงสภาพแวดล้
อมทางกายภาพ เป็
นต้
น โดยที่
ไม่
มี
การอภิ
ปราย
หลั
กเหตุ
ผลที่
น�
ำไปสู่
ข้
อสมมุ
ติ
ฐานดั
งกล่
าว และสมมุ
ติ
ฐานก็
ไม่
ได้
น�
ำไปสู่