170
ถกเถียงวัฒนธรรม
2
.
ความเหมาะสมของแนวคิดและวิธีการศึกษาในการตอบโจทย์วิจัย
ในประเด็
นนี้จะอาศั
ยตั
วอย่
างงานจาก 2 แนวเรื่
อง คื
อ การศึ
กษาการ
เปลี่ยนแปลงและการปรั
บตั
วทางวัฒนธรรม กั
บการศึ
กษาจิตส�
ำนึ
กและอัตลักษณ์
ชาติ
พั
นธุ์ในบริ
บทของรั
ฐไทย โดยที่
ในแนวเรื่
องหลั
งจะให้ข้อคิ
ดเห็
นแบบรวมๆ
งานวิ
จั
ยการเปลี่
ยนแปลงและการปรั
บตั
วทางวั
ฒนธรรมอาจจะนั
บได้
มากกว่
า 10 งาน ซึ่
งครอบคลุ
มชุ
มชนชาติ
พั
นธุ
์
หลายชุ
มชนและในหลายกลุ
่
ม
ชาติพันธุ์ ลาวโซ่ง ลาวพวน ไทยยวน ไทยเบิ้ง และลาวครั่ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเน้น
ให้
เห็
นความสั
มพั
นธ์
ของการเปลี่
ยนแปลงในมิ
ติ
ของเศรษฐกิ
จและมิ
ติ
ทางวั
ฒนธรรม
(ซึ่งมักจะขาดการให้ความหมายที่ชัดเจน) งานเหล่านี้มีประเด็นหรือโจทย์ที่ชัดเจน
และตรงประเด็
นกั
บที่
ผู้
เขี
ยนต้
องการจะสั
งเคราะห์
แต่
ผู้
เขี
ยนกลั
บใช้
ประโยชน์
ข้อมูลได้ไม่มากเท่าที่
ควร เพราะงานมี
แนวคิ
ดและวิ
ธี
การเก็
บและวิ
เคราะห์ข้อมูลที่
ไม่เหมาะสม ท�
ำให้ข้อมูลที่
ได้มามี
สภาวะ “ไม่เกี่
ยวข้อง” หรื
อไม่ตรงประเด็
น หรื
อ
ความหมายไม่ชัดเจน และในหลายๆ กรณีอาจจะไม่น่าเชื่อถือ ซึ่งในที่นี้
จะยกมา
เป็นตั
วอย่างเพี
ยง 2 งาน คื
อ
1. “การเข้าสู่ชุมชนชนบทของกระบวนการโลกาภิวัฒน์: ศึกษากรณี
ชุมชนไทพวน ต�ำบลหินปัก อ�ำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี” (บดี พงษ์ทอง
2538)
ในงานนี้
ผู้
วิ
จั
ยได้
กล่
าวถึ
งวั
ตถุ
ประสงค์
อย่
างชั
ดเจนว่
า ต้
องการศึ
กษา
ความตระหนั
กในการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของไทพวน โดยเปรียบเทียบหัวหน้า
ครั
วเรื
อนกั
บผู้
น�
ำ โดยใช้
แบบสั
มภาษณ์
และการวิ
เคราะห์
เชิ
งสถิ
ติ
และศึ
กษาปั
จจั
ย
และความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อการผลักดัน “กระบวนการโลกาภิวัฒน์เข้าสู่
ชุ
มชนชนบท” โดยพิ
จารณาตั
วแปรที่
จะบ่
งชี้
ภาวะโลกาภิ
วั
ฒน์
คื
อ บทบาทของ
ข่
าวสาร ความคิ
ดเรื่
องสิ
ทธิ
เสรี
ภาพและการยอมรั
บศั
กยภาพที่
เท่
าเที
ยมของมนุ
ษย์
ปัจจั
ยทางเศรษฐกิ
จ ความสั
มพั
นธ์ส่วนบุ
คคล การจั
ดระเบี
ยบโลก และระยะความ
สั
มพั
นธ์
ทางสั
งคม ซึ่
งตั
วแปรทั้
ง 6 นี้
ถูกจั
ดว่
าเป็
นตั
วแปรตาม ส่
วนตั
วแปรอิ
สระ คื
อ