งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
119
ลาวพวน
มี
ประมาณ 1.0% ของประชากรในภาคกลาง กระจายกั
นอยู่
ในพื้นที่ของจังหวัดลพบุรี สิงห์บุรี (อุทัยวรรณ 2536) นครนายก (ปิยะพร 2538)
สุ
พรรณบุ
รี
(Sotesiri 1982) ฉะเชิ
งเทรา (เพ็
ญศรี
และนารี
2529) และปราจี
นบุ
รี
(ภูวดล 2544) และต่อไปถึ
งสุ
โขทั
ย (จารุ
วรรณ 2538) ซึ่
งเป็นภาคเหนื
อตอนล่างกั
บ
อุ
ดรธานี
ซึ่
งอยู่ในภาคอี
สาน
ลาวครั่ง
มี
ประมาณ 0.3% ของประชากรในภาคกลาง อยู่ในพื้
นที่
จั
งหวั
ด
สุ
พรรณบุ
รี
(คนึ
งนุ
ช 2537, ชนั
ญ 2532 และวรณั
ย 2538)
ไทยเบิ้ง
มี
ประมาณ 0.4% อยู่ในพื้
นที่
จั
งหวั
ดลพบุ
รี
ไทยยวน
มีประมาณ 1.0% อยู่
ในพื้
นที่จั
งหวัดนครราชสี
มา และจั
งหวัด
ราชบุ
รี
ลาวเวียง
อยู่
ในพื้
นที่
จั
งหวั
ดฉะเชิ
งเทรา (เพ็
ญศรี
และนารี
2529) และ
ภาคเหนื
อตอนล่าง คื
ออุ
ตรดิ
ตถ์ (กิ
ตติ
ภั
ค 2545)
ลาวแง้ว
มี
ประมาณ 0.1% อยู่ในพื้
นที่
จั
งหวั
ดลพบุ
รี
(จารุ
วรรณ 2536)
ลาวตี้
มี
ประชากรน้อยกว่า 0.1% อยู่ในพื้
นที่
จั
งหวั
ดราชบุ
รี
(อาภรณ์ 2541)
ญ้อ
มี
ประชากรประมาณ 0.1% อยู่ในพื้
นที่
จั
งหวั
ดสระแก้ว
กลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาอื่นๆ
มอญ
มี
ประมาณ 0.3% อยู่
ในชุ
มชนต่
างๆ ของจั
งหวั
ดสมุ
ทรปราการ ลพบุ
รี
ราชบุ
รี
นนทบุ
รี
ปทุ
มธานี
กาญจนบุ
รี
กรุ
งเทพ สมุ
ทรสาคร และสุ
พรรณบุ
รี
จีน
มี
น้อยกว่า 0.1% กระจายอยู่ในชุ
มชนต่างๆ ในเขตเมื
องของภาคกลาง
กะเหรี่ยงโปว์ (โพล่ง)
มี
ประมาณ 0.2% อยู่ในบริ
เวณจั
งหวั
ดกาญจนบุ
รี
ราชบุ
รี
สุ
พรรณบุ
รี
ประจวบคี
รี
ขั
นธ์ และเพชรบุ
รี
กะเหรี่ยงสกอร์
(ปกากะญอ)
มี
น้
อยกว่
า 0.1% อยู่
ในพื้
นที่
เดี
ยวกั
บ
กะเหรี่
ยงโปว์