118
ถกเถียงวัฒนธรรม
นอกจากนี้
ยั
งมี
กลุ่มชาติ
พั
นธุ์อื่
นๆ อี
ก เช่น ละว้า (อุ
ก๋อง หรื
อกว๋อง) เขมร
ญวน และชาวอินเดียแต่มีข้อมูลที่จะน�ำเสนอไม่มากนั
ก ซึ่งได้น�ำเสนอในรายงาน
วิ
จั
ยฯไว้บ้างแล้ว
จากหลั
กฐานต่
างๆ ดั
งกล่
าว เราอาจกล่
าวได้
ว่
าความหลากหลายทาง
ชาติ
พั
นธุ
์
ในภาคกลางของประเทศไทยในส่
วนใหญ่
เป็
นผลสื
บเนื่
องจากสงคราม
ระหว่
างสยามและรั
ฐเพื่
อนบ้
านต่
างๆ ในอดี
ต เช่
น ไทยกั
บลาวส�
ำหรั
บการอพยพของ
กลุ
่
มที่
ใช้
ภาษาตระกูลไท ส่
วนสงครามระหว่
างรั
ฐมอญกั
บรั
ฐพม่
า และระหว่
างรั
ฐไทย
และรั
ฐพม่
า ท�
ำให้
เกิ
ดการอพยพของมอญและกะเหรี่
ยงเข้
ามาในไทย ส่
วนกรณี
อพยพของมลายูมุสลิมเกิดจากการสงครามระหว่
างไทยกับรัฐมลายูโดยเฉพาะรัฐ
“ปตานี” (ครอบคลุมสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในปั
จจุบัน) ส่
วนการอพยพของ
คนจี
นเกี่
ยวข้
องกั
บแรงจูงใจทางเศรษฐกิ
จเป็
นส�
ำคั
ญ ทั้
งนี้
มี
ข้
อสั
งเกตว่
ากลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ที่
ใช้
ภาษาตระกูลไท ซึ่
งมี
วั
ฒนธรรมใกล้
เคี
ยงกั
บคนไทยเป็
นกลุ
่
มที่
ถูกบั
งคั
บให้
อพยพในขณะที่
มอญและกะเหรี่
ยงอพยพมาตั้
งถิ่
นฐานด้วยความสมั
ครใจมากกว่า
หากมองย้
อนกลั
บไปในประวั
ติ
ศาสตร์
ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
ใน
ภาคกลางได้
มี
มาตั้
งแต่
สมั
ยกรุ
งศรี
อยุ
ธยาเป็
นราชธานี
แต่
ความหลากหลายทาง
ชาติ
พั
นธุ
์
ที่
ปรากฎในปั
จจุ
บั
นเป็
นผลมาจากสงครามและความขั
ดแย้
งระหว่
างรั
ฐ
ต่างๆ ในช่วงสมั
ยกรุ
งธนบุ
รี
และรั
ตนโกสิ
นทร์ กั
บความขั
ดแย้งทางการเมื
องในพม่า
เป็นส�
ำคั
ญ โดยอาศั
ยงานศึ
กษาของสุ
วิ
ไล เปรมศรี
รั
ตน์ และคณะ (2548) ผู้เขี
ยน
สามารถประมาณการสั
ดส่
วนเป็
นร้
อยละของประชากรชาติ
พั
นธุ
์
(อาศั
ยเกณฑ์
ภาษา
เป็
นหลั
ก) ในท้
องถิ่
นต่
างๆ ในภาคกลางซึ่
งมี
ประมาณ 14 ล้
านคนที่
รวมกรุ
งเทพฯ ด้
วย
ได้ดั
งนี้
คื
อ
กลุ่มที่ใช้ภาษาตระกูลไท
(ไม่
นั
บรวมคนไทยภาคกลางซึ่
งมี
ประชากร
ประมาณ 90%)
ลาวโซ่ง
มี
จ�
ำนวนประชากรประมาณ 0.4% ของภาคกลางกระจุ
กตั
วอยู่ใน
จั
งหวั
ดเพชรบุ
รี
สุ
พรรณบุ
รี
นครปฐม ราชบุ
รี
พิ
จิ
ตร และพิษณุ
โลก