Previous Page  82 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 82 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

81

จัดการทรัพยากรว่าสัมพันธ์

อยู่

กับสังคมเศรษฐกิจและการศึกษา ท�

ำให้

เกิดความ

มั่

นใจได้ว่า ป่าไม้ สายน�้ำ และชี

วิ

ตมี

คุ

ณภาพที่

ดี

และน�

ำมาซึ่

งความสุ

ขให้แก่สั

งคม

ได้อย่างแท้จริ

งานบทความเรื่

อง ตรั

งเขา ตรั

งนา ตรั

งเล : สามทศวรรษที่

ผ่านมา น�้

ำตา

หรื

อรอยยิ้

ม (เปลื้

อง คงแก้ว, 2537) เป็นบทความที่

วิ

เคราะห์และสั

งเคราะห์ความ

เป็

นจั

งหวั

ดตรั

งโดยใช้

สภาพทางภูมิ

ศาสตร์

เป็

นตั

วก�

ำหนด ภาพของการน�

ำเสนอ

และใช้ช่วงเวลา 3 ทศวรรษเป็

นกรอบให้เห็นภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงใน 3 ยุค

คื

อ ยุ

คแรกได้

เสนอให้

เห็

นภาพของชนทุ

กกลุ

มในพื้

นที่

ว่

าต่

างก็

พึ่

งพิ

งสงเคราะห์

เกื้

อกูลกันโดยตลอดซึ่

งสอดคล้

องกับธรรมชาติอันอุ

ดมสมบูรณ์

ยุ

คที่สอง วิ

ธี

การ

ผลิ

ตของชุมชนที่

ได้

เข้

าสู่

ภาวการณ์

ท�

ำมาค้

าขาย สวนยางสงเคราะห์

ที่รัฐอุดหนุ

ท�

ำให้

สภาพธรรมชาติ

ถูกท�

ำลาย นาข้

าวที่

ผลิ

ตเชิ

งพาณิ

ชย์

ต้

องใช้

ทุ

นเพิ่

มขึ้

น หนี้

สิ

เพิ่มขึ้น ครั้นยุคปัจจุบัน ภาพของยุคแรกหมดไปในขณะที่ความเป็นพาณิ

ชย์นิยม

เกิ

ดขึ้

นอย่

างเต็

มรูปแบบ กระแสบริ

โภคนิ

ยมรุ

นแรง ความอุ

ดมสมบูรณ์

ล่

มสลาย

ชาวบ้

านมี

รายได้

ไม่

พอกั

บรายจ่

าย ในช่

วงนี้

เองที่

ทั้

งสามตรั

งต่

างก็

ตระหนักถึ

สภาพดังกล่าว บางกลุ่

มจึงหันมาพึ่งตนเองภายใต้

ภูมิปั

ญญาดั้งเดิม โดยรวมตัว

กั

นเป็

นกลุ่

มช่

วยกั

นหาทางออกสร้

างกฎระเบี

ยบ และปฏิ

บั

ติ

เพื่

อแก้

ไขให้

สถานการณ์

เก่

าๆ กลั

บคื

นมา สภาพเช่

นที่

ว่

านี้

ให้

ความหวั

งว่

ามี

โอกาสและเป็

นไปได้

มากที่

ชุมชนดังกล่าวจะคืนมาสู่ความสงบสุขได้อีกครั้งหนึ่

ง บทความเรื่อง ภูเขา ที่ราบ

และทะเล : วิ

ถี

แห่

งความสั

มพั

นธ์

และการเปลี่

ยนแปลงของชุ

มชนรอบทะเลสาบ

สงขลา (วิ

นั

ย สุ

กใส, 2538) เป็

นการมองในมิ

ติ

ของเวลาที่

มี

การเปลี่

ยนแปลงเกี่

ยวกั

การคมนาคม คื

อ ยุ

คก่อนมี

ทางรถไฟสายใต้ ยุ

ครถไฟ-เรื

อเมล์ และยุ

คสิ

บล้อจ้าว

ถนน โดยสรุ

ปว่ายุ

คก่อนมี

ทางรถไฟสายใต้ ชุ

มชนทั้

งสามกลุ่มมี

ความสั

มพั

นธ์แบบ

เกื้อกูล พึ่งพาอาศัยกัน แลกเปลี่ยนผลิตผลกันมายาวนาน ครั้นถึงยุคมีรถไฟและ

เรื

อเมล์

การติ

ดต่

อกั

บโลกภายนอกเป็

นไปอย่

างกว้

างขวางและรวดเร็

ว การผลิ

เริ่

มกระจายตั

วและเป็

นไปเพื่

อการค้

า มี

การอพยพเคลื่

อนย้

ายผู้

คนจากแหล่

งเดิ

ไปยั

งแหล่

งอื่

น และจากแหล่

งอื่

นเข้

ามาในพื้

นที่

ครั้

นถึ

งยุ

คสิ

บล้

อจ้

าวถนน ได้

มี