งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
83
ภาคใต้
งานชิ้
นแรกซึ่
งเป็
นงานประมวลความคิ
ดและประสบการณ์
ของชุ
มชนไม้
เรี
ยง
(ประยงค์
รณรงค์
, 2546) ได้
เสนอเกี่
ยวกั
บศูนย์
เรี
ยนรู้
ชุ
มชนที่
เน้
นปรั
ชญาการเรี
ยนรู้
ตลอดชี
วิ
ต มี
กระบวนการเรี
ยนรู้สู่ชุ
มชนที่
มี
หลั
กสูตรมากมาย โดยได้ขยายผลไปสู่
สถานศึกษาในชุมชน เพราะเชื่อว่าการเรียนรู้ คือ หัวใจของการพัฒนา นอกจาก
นี้ยังได้เสนอแผนแม่บทชุมชนที่เน้นการเรียนรู้ การพัฒนาอาชีพ และสุขภาพอันมี
กิ
จกรรมเกี่
ยวกั
บ เกษตรกรรมยั่
งยื
น กองทุ
นชุ
มชน กองทุ
นสิ่
งแวดล้
อมและสุ
ขภาพ
เพื่
อให้
ชุ
มชนสามารถพึ่
งตนเองได้
โดยที่
ยั
งได้
ประมวลความรู้
เกี่
ยวกั
บวิ
สาหกิ
จชุ
มชน
เพราะเชื่
อว่
าหากเป็
นเช่
นนี้
จะสามารถสร้
างคนและองค์
กรชุ
มชนให้
เข้
มแข็
ง สามารถ
จั
ดการทุ
น และทรั
พยากรต่างๆ ที่
มี
อยู่ให้เกิ
ดประโยชน์ต่อชุ
มชนได้ ด้วยการเชื่
อม
โยงวั
ฒนธรรม สั
งคม ธรรมเนี
ยมประเพณี
เข้าด้วยกั
น
การประมวลความรู้
ประสบการณ์
และแนวคิ
ดของชุ
มชนไม้
เรี
ยงจึ
งเป็
นงาน
ที่ถ่ายทอดประสบการณ์ตรงที่ผู้เขียนคลุกคลีมาอย่างยาวนานโดยตลอด โดยที่ได้
พั
ฒนาความคิ
ด และการปฏิ
บั
ติ
งานจริ
งจนในที่
สุ
ดชุ
มชนสามารถพึ่
งตนเองได้
ท�
ำให้
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมได้รับการดูแลรักษาไว้เป็นอย่างดี ส�ำหรับบทความเรื่อง
กลุ่ม สวนสมรม ต�ำบลบ้านยาง อ�
ำเภอคี
รี
รั
ฐนิ
คม (อร่ามรั
ศมิ์
ด้วงชนะ, 2547) ซึ่
ง
ผู้
เขี
ยนเก็
บข้
อมูลจากการลงไปสั
มผั
สพื้
นที่
ด้
วยการสั
มภาษณ์
และดูสภาพจริ
ง ท�ำให้
เห็
นถึ
งการจั
ดการทรั
พยากร ธรรมชาติ
และสิ่
งแวดล้อม โดยการประกอบอาชี
พท�
ำ
สวนสมรม ซึ่
งเป็
นสวนแบบดั้
งเดิ
มในบริ
เวณพื้
นที่
ริ
มฝั
่
งคลองซึ่
งมี
พื
ชพรรณอย่
าง
หลากหลาย มี
ผลประโยชน์
ตลอดปี
แม้
เป็
นเพี
ยงแบบพออยู่
พอกิ
นแต่
ก็
ปลอดภั
ยจาก
สารเคมี
และยาปราบศั
ตรูพื
ช ซึ่
งช่
วยให้
มนุ
ษย์
สั
ตว์
พื
ช และสิ่
งมี
ชี
วิ
ตอื่
นๆ ด�
ำรงอยู่
อย่
างอิ
สระ ปลอดภั
ย พึ่
งตนเองได้
และเกื้
อกูลกั
น อย่
างมี
ความสุ
ข ผลก็
คื
อ เป็
นการ
ช่วยให้เกิดการอนุ
รั
กษ์วั
ฒนธรรม และสภาพธรรมชาติ
แวดล้อมไว้เป็นอย่างดี
ด้วย
ในส่
วนของงานบทความเรื่
อง เขาคราม... บนเส้
นทางการค้
นหาตนเอง
(กลิ่
น คงเหมื
อนเพชร, 2547) เป็
นงานการจั
ดการทรั
พยากรและสิ่
งแวดล้
อมอี
ก
ชิ้นหนึ่
งที่เกิดขึ้นจากการที่ผู้
ศึกษาได้
ลงทุนคลุกคลีเก็บข้
อมูลในพื้นที่แล้
วประมวล
ปรากฏการณ์
และพลวั
ตของชุ
มชนออกมาเผยแพร่
โดยพบว่
าบนความหลากหลาย