งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
77
การพึ่
งตนเองและการพึ่
งพาอาศั
ยกั
นในชุ
มชน การพึ่
งตนเองภายในครั
วเรื
อนขึ้
นอยู่
กั
บรั
ฐและการตลาดมากขึ้
น ท่
ามกลางความเปลี่
ยนแปลงดั
งกล่
าว ชาวบ้
านได้
ปรั
บ
ตั
วด้
วยการจั
ดตั้
งองค์
กรชาวบ้
านเพื่
อแก้
ปั
ญหาการจั
ดการทรั
พยากรและสิ่
งแวดล้
อม
โดยมี
ผู้
น�
ำตามธรรมชาติ
เป็
นปั
จจั
ยส�
ำคั
ญ การจั
ดการที่
ว่
านี้
อยู่
ในท่
ามกลางข้
อจ�
ำกั
ด
ทางกายภาพ และสิ่
งแวดล้
อมที่
เสื่
อมทรามลงเรื่
อยๆ รวมทั้
งแรงกดดั
นทางเศรษฐกิ
จ
การเมื
อง สั
งคม และวั
ฒนธรรมสมั
ยใหม่ แต่ก็
สามารถอยู่รอดในสั
งคมได้ งานวิ
จั
ย
ทั้
ง 2 เรื่
องที่
มี
ลั
กษณะที่
ใกล้เคี
ยงกั
น จึ
งท�
ำให้ชุ
มชนสามารถฝ่าฟันวิ
กฤตของสั
งคม
ได้
นั
บเป็
นงานที่
มี
คุ
ณค่
ายิ่
งต่
อการพั
ฒนาและแก้
ปั
ญหาทรั
พยากรและสิ่
งแวดล้
อม
อี
กทั้
งเป็นการบั
นทึ
กประวั
ติ
ศาสตร์ชุ
มชนในช่วงเวลาหนึ่
งไว้ด้วย
ในงานวิ
จั
ยกลุ่
มที่
สอง ซึ่
งเป็
นการจั
ดกระบวนการเรี
ยนรู้
ของชุ
มชนที่
เกี่
ยวกั
บ
ทรั
พยากรธรรมชาติ
และสิ่
งแวดล้
อม ได้
แก่
เรื่
อง การจั
ดท�
ำเส้
นทางศึ
กษาธรรมชาติ
เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีศึกษาป่าชุมชนเขา
หั
วช้
าง อ�
ำเภอตะโหมด จั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง ศึ
กษาการจั
ดการและผลกระทบจากการ
จั
ดการป่
าชุ
มชน “ป่
าซั
บน�้
ำธารคี
รี
” ของชาวบ้
านตั
นหยงมูหลง ต�
ำบลธารคี
รี
อ�
ำเภอ
สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ปั
จจัยการรวมกลุ่
มและการจัดกิจกรรมกลุ่มของชมรม
ชาวประมงทะเลสาบสงขลาตอนล่
าง ศึ
กษาปั
จจั
ยและกิ
จกรรมการพั
ฒนาการ
ท่
องเที่
ยวทะเลน้
อย จั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง และศึ
กษาประวั
ติ
และผลงานด้
านการเกษตรของ
น้
อม พฤกษากร งานชิ้
นแรกที่
ศึ
กษาวิ
จั
ยเกี่
ยวกั
บการจั
ดท�
ำเส้
นทางศึ
กษาธรรมชาติ
เพื่
อการท่
องเที่
ยวเชิ
งนิ
เวศโดยการมี
ส่
วนร่
วมของชุ
มชน (ปาริ
ฉั
ตร วงศ์
พานิ
ช, 2546)
พบว่
า การด�
ำเนิ
นการดั
งกล่
าวสื่
อความหมายที่
สอดคล้
องกั
บแนวทางการด�
ำเนิ
น
ชี
วิ
ตของชุ
มชนที่
มี
มาแต่
เดิ
ม อั
นเป็
นการพึ่
งพิ
งธรรมชาติ
และมี
ความสั
มพั
นธ์
ที่
เชื่
อม
โยงระหว่างมนุ
ษย์กั
บธรรมชาติ
โดยอาศั
ยความเชื่
อต่างๆ การมี
ส่วนร่วมของชุ
มชน
ที่
ด�
ำเนิ
นไปท�
ำให้คนในชุ
มชนเกิ
ดการแลกเปลี่
ยนเรี
ยนรู้ และถ่ายทอดความรู้ให้กั
บ
บุ
คคลทั้
งภายในและภายนอกชุ
มชนอั
นเป็
นการพั
ฒนาจิ
ตส�
ำนึ
กในแนวทางเดิ
มที่
มนุษย์ยังคงมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับธรรมชาติกันต่อไปอีก กรณีศึกษานี้
จึง
เป็
นตั
วแบบหรื
อแนวทางหนึ่
งให้
แก่
ชุ
มชนอั
นเป็
นการพั
ฒนาจิ
ตส�ำนึ
กในแนวทาง