งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
311
และการศึ
กษาเกี่
ยวกั
บการเปลี่
ยนแปลงอาชี
พของชาวภาคใต้
ซึ่
งเป็
นงานที่
ใช้
วิ
ธี
การ
ศึ
กษาอย่
างเดี
ยวกั
น คื
อ เก็
บข้
อมูลภาคสนาม การสั
งเกต สั
มภาษณ์
และการ
เข้าไปร่วมกิจกรรม แล้วน�
ำข้
อมูลมาศึกษาวิเคราะห์
ช่
วยให้แลเห็นแนวโน้มว่
าใน
อนาคตมีความเป็นไปได้สูงที่อาชีพต่างๆ จะต้องปรับเปลี่ยนไปตามบริบทชุมชนที่
เปลี่
ยนแปลง
ส่วนงานศึกษาเกี่ยวกับตลาดนั
ดซึ่งใช้วิธีการศึกษาเดียวกันกับเรื่องที่กล่าว
มาแล้ว เป็นผลงานที่เป็นเพียงการบอกเล่าปรากฏการณ์ชุมชนในจุดแคบๆ เกี่ยว
กั
บลั
กษณะของเครื
อข่
ายทางสั
งคม ไม่
ได้
เข้
าถึ
งปั
ญหาหรื
อผลกระทบที่
จะน�
ำไป
ใช้ในกรณีอื่นๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ส�
ำหรับงานศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการแพทย์
พื้นบ้าน ที่เนื้อหาสาระของงานมีทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากต�
ำรายาโบราณ และการ
เก็
บรวบรวม สั
มภาษณ์ การสั
งเกตจากการปฏิ
บั
ติ
งานของหมอพื้
นบ้าน แม้ผลการ
ศึกษาเป็นองค์ความรู้ที่ถูกมองว่ายังไม่เป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ แต่ช่วยให้เห็น
พั
ฒนาการและการดิ้
นรนต่
อสู้
ของชาวบ้
านก่
อนที่
แพทย์
แผนปั
จจุ
บั
นเข้
ามามี
บทบาท
แย่งชิ
งพื้
นที่
ไปเกื
อบสิ้
นเชิ
ง
ผลงานศึกษาการรักษาอาการบาดเจ็บของกระดูกและข้อ และผลงานการ
ศึ
กษาเรื่
องแบบแผนการดูแลสุ
ขภาพของหญิ
งมี
ครรภ์
หญิ
งหลั
งคลอด และ
ทารกแรกเกิ
ด ซึ่
งมุ
่
งศึ
กษาการแพทย์
พื้
นบ้
านเพื่
อน�
ำมาใช้
ประโยชน์
ในปั
จจุ
บั
น
ด้
วยการศึ
กษาจากเอกสาร เก็
บข้
อมูลภาคสนามจากหมอ ผู้
ป่
วย และผู้
ทรงคุ
ณวุ
ฒิ
รวมถึงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมการรักษา ท�
ำให้ได้องค์ความรู้ทั้งตัวยาที่ใช้
รั
กษา คุ
ณสมบั
ติ
ของผู้
เป็
นหมอ และการปรั
บใช้
แต่
ปั
จจุ
บั
นพื้
นที่
ของการแพทย์
พื้นบ้านลดน้อยลงทุกที วิธีการศึกษาดังกล่าวท�
ำให้ได้ข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ คือ
ภูมิ
ปั
ญญาชาวบ้
านที่
มี
คุ
ณค่
าก�
ำลั
งสูญหายไป แม้
ว่
าจะได้
เสนอแนวทางอนุ
รั
กษ์
ฟื้นฟู และพั
ฒนาไว้ก็
ตาม แต่คงบั
งเกิ
ดผลได้ไม่ง่ายนั
ก
กรณีผลงานศึกษาวัฒนธรรมการด�ำเนิ
นชีวิตตามวิถีชาวพุทธและจริยธรรม
ในการด�
ำเนิ
นชี
วิ
ตของชาวไทยพุ
ทธในพื้
นที่
สามจั
งหวั
ดภาคใต้ ซึ่
งเป็นผลงานที่
เกิ
ด
จากเก็
บข้อมูลภาคสนามเป็นหลั
ก ด้วยการสนทนากลุ่ม ใช้แบบสอบถาม และการ