Previous Page  316 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 316 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

315

แต่

ส�

ำหรั

บผู้

ศึ

กษาค้

นคว้

าที่

เป็

นคนรุ

นหลั

งโดยเฉพาะนักวิ

ชาการ ครู อาจารย์

และนั

กศึ

กษาระดั

บบั

ณฑิ

ตศึ

กษาได้

พยายามใช้

แนวคิ

ดทฤษฎี

มาเป็

นสิ่

งชี้

น�

การศึ

กษาจึ

งมี

มุ

มมองใหม่

เป็

นการค้

นหาความหมายใหม่

ไม่

ได้

มองรากเหง้

าดั้

งเดิ

แบบตายตั

วเสมอไป เห็

นว่าศิ

ลปวั

ฒนธรรมมี

การปรั

บปรนและเปลี่

ยนแปลงได้โดย

เฉพาะความสัมพันธ์

กับการด�ำรงชีวิตในระบบนิเวศและสภาพแวดล้

อมทางสังคม

และวัฒนธรรม การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของผู้ศึกษารุ่นหลัง จึงเป็นการปล่อยวาง

ความรู้

เก่

าบางอย่

าง ยอมรั

บความรู้

ความคิ

ดใหม่

ด้

วยการผสมผสานความรู้

อื่

จากภายนอกเข้ามาแต่ก็

ยั

งเป็นไปในวงจ�

ำกั

ผู้

สนใจศิ

ลปวั

ฒนธรรมภาคใต้

ส่

วนใหญ่

เป็

นผู้

มี

พื้

นฐานการศึ

กษาที่

เรี

ยนรู้

มา

ทางภาษาไทยหรื

อไม่

ก็

ประวั

ติ

ศาสตร์

มิ

ได้

ศึ

กษามาทางศาสตร์

อื่

นๆ ที่

เกี่

ยวข้

อง

โดยตรง เช่

น มานุ

ษยวิ

ทยา สั

งคมวิ

ทยา เป็

นต้

น วิ

ธี

การศึ

กษาจึ

งไม่

สามารถบูรณาการ

หรื

อเชื่

อมโยงความคิ

ดกั

บพฤติ

กรรมอื่

นได้

ไม่

พยายามศึ

กษาความแตกต่

างทาง

ความคิ

ด มี

ลั

กษณะเป็

นท้

องถิ่

นนิ

ยมสูง เนื่

องจากมองวั

ฒนธรรมในความหมาย

เก่า แต่ก็มีงานศึกษาค้นคว้าหลายชิ้นที่พยายามก้าวให้พ้นลักษณะดังกล่าว ด้วย

การวิพากษ์โดยอาศัยกระแสการพัฒนาจากภายนอก ศาสตราจารย์สุธิวงศ์ พงศ์

ไพบูลย์

เป็

นผู้

สนใจศึ

กษารุ่

นแรกๆ ที่

มุ่

งศึ

กษาเกี่

ยวกั

บวั

ฒนธรรมท้

องถิ่

นซึ่

งสื

บทอด

ด้

านภาษา ศิ

ลปะการแสดง ประเพณี

พิ

ธี

กรรม ความเชื่

อ ฯลฯ โดยเน้

นที่

การ

วิ

เคราะห์

เอกลั

กษณ์

วั

ฒนธรรมภูมิ

ปั

ญญาท้

องถิ่

นภาคใต้

ว่

าเป็

นการผสมผสานอย่

าง

ซั

บซ้

อนจากวั

ฒนธรรมราษฎร์

(วั

ฒนธรรมท้

องถิ่

น) และวั

ฒนธรรมหลวงตกผลึ

เป็

นวั

ฒนธรรมภาคใต้

มายาวนาน และเน้

นให้

เห็

นว่

างานศิ

ลปวั

ฒนธรรมภาคใต้

เป็นรากเหง้

าเชิงอุดมคติ และจิตวิญญาณที่ถ่ายทอดผ่

านศรัทธา ความเชื่อ เป็

ระบบคิ

ดและแบบแผนการด�ำเนิ

นชี

วิ

ตที่

เป็

นพลั

งทางสั

งคมอั

นเป็

นลั

กษณะเฉพาะ

ของชาวภาคใต้ นอกจากนั้

นผลงานของท่านผู้นี้

ยังมองว่างานศิลปวั

ฒนธรรมภาค

ใต้เป็นการผสมผสานคติความเชื่อที่เป็นฐานคิดในชีวิตประจ�ำวันอย่างหลากหลาย

ทั้

งที่

เกี่

ยวกั

บศาสนาพุ

ทธ ศาสนาพราหมณ์ และคติ

ท้องถิ่

นด้วยการหลอมรวมเข้า

เป็นค่านิ

ยม และส�

ำนึ

กเชิ

งอุ

ดมการณ์ในระดั

บครอบครั

ว เครื

อญาติ

เพื่

ออยู่ร่วมกั