Previous Page  318 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 318 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

317

ที่ค้นหาความหมายลักษณะนี้อยู่เพียงจ�ำนวนน้อย ส�ำหรับงานศึกษาค้นคว้าเกี่ยว

กั

บศิ

ลปวั

ฒนธรรมภาคใต้

ที่

มี

การผสมผสานกั

บวั

ฒนธรรมอื่

นก็

มั

กเน้

นส่

วนที่

เป็

นการ

ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งใหม่ที่เป็นไปเพื่อการค้าหรือเศรษฐกิจ ส่วนใหญ่จึงยัง

ยื

นหยั

ดอยู่

กั

บการศึ

กษาวั

ฒนธรรมพื้

นบ้

านดั้

งเดิ

มอย่

างเหนี

ยวแน่

น นอกจากนี้

มี

งานไม่

น้อยที่ศึกษาภาพรวมโครงสร้

างความคิด และความรู้

ที่มีระเบียบแบบแผน

อั

นเป็

นเอกลั

กษณ์

เฉพาะกลุ่

มในลั

กษณะการสื

บทอดอย่

างต่

อเนื่

อง เน้

นความเข้

าใจ

รากเหง้

าดั้

งเดิ

มซึ่

งเป็

นการสร้

างภาพของวั

ฒนธรรมเชิ

งอุ

ดมคติ

มากกว่

าสนใจ

ความจริ

งที่

เคลื่

อนเปลี่

ยนในปั

จจุ

บั

น ไม่

พยายามกล่

าวถึ

งความผั

นแปรไปตาม

บริ

บทที่

เกี่

ยวข้

องเพื่

อให้

เห็

นภาพศิ

ลปวั

ฒนธรรมที่

โลดแล่

นหลากหลาย ด้

วยอาจ

จะเห็

นว่

าวั

ฒนธรรมจากภายนอก และวั

ฒนธรรมสากลขยายอิ

ทธิ

พลเข้

ามาครอบง�ำ

วั

ฒนธรรมชาวบ้านจึ

งกลั

วการสูญเสี

ยพื้

นที่

ทางวั

ฒนธรรม

อย่างไรก็

ตามผู้สนใจศึ

กษาศิ

ลปวั

ฒนธรรมภาคใต้ มี

ลั

กษณะร่วมกั

นหลาย

ประการ คื

อ มี

ความเข้

าใจวั

ฒนธรรมที่

คล้

ายคลึ

งกั

นได้

แก่

เห็

น รู้

เข้

าใจว่

าวั

ฒนธรรม

เป็นคุณค่าพื้นฐานดั้งเดิมหรือเป็นรากเหง้าของชุมชนที่ช่วยให้ชุมชนด�

ำรงอยู่อย่าง

มั่

นคงไม่เปลี่

ยนแปลง มองว่าศิ

ลปวั

ฒนธรรมเป็นส�

ำนึ

กร่วมกั

นของกลุ่มชนที่

ผูกติ

อยู่

กั

บโครงสร้

าง และความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคม ช่

วยให้

ส่

วนต่

างๆ ของสั

งคมอยู่

ร่

วมกั

ได้อย่างมี

ระบบและผสมกลมกลื

น ความเข้าใจเช่นนี้

มี

ส่วนอย่างส�

ำคั

ญในการมอง

วั

ฒนธรรมว่

าเป็

นกลไกทางสั

งคมที่

ท�

ำหน้

าที่

จั

ดการและรั

กษาดุ

ลยภาพของระบบ

สั

งคมของตนเอง ไม่

ค่

อยสนใจศึ

กษาเกี่

ยวกั

บประวั

ติ

ศาสตร์

ของวั

ฒนธรรมที่

เน้

ถึงความเคลื่อนไหวหรือพลวัตวัฒนธรรมในฐานะที่เป็

นศักยภาพเกี่ยวกับการปรับ

ตั

วกั

บระบบนิ

เวศ

ในเนื้

อหาสาระของงานที่

ศึ

กษาเกี่

ยวกั

บศิ

ลปวั

ฒนธรรมในระยะหลั

ง แม้

จะมีมุมมองส�ำนึ

กร่วมกันโดยให้ความส�ำคัญกับองค์กรทางสังคมในลักษณะเครือ

ข่าย เน้นเครื

อข่ายความสั

มพั

นธ์มากขึ้

นทั้

งระดั

บเครื

อญาติ

ชุ

มชน วั

ด ตลาด และ

พิ

ธี

กรรม แต่

ก็

ขาดการมองเรื่

องดั

งกล่

าวเชิ

งพลวั

ตอั

นหมายถึ

งศั

กยภาพในการ

ปรับตัวของวัฒนธรรมต่อการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อท้องถิ่น