296
สืบโยดสาวย่าน
จั
งหวั
ดระนองมี
สวนสมรมเหลื
อไม่
มากนั
ก สวนสมรมในพื้
นที่
ดั
งกล่
าวส่
วนมากเป็
น
สวนเก่าแก่ตกทอดมา 2 – 3 ชั่
วอายุ
คน สวนใหม่ๆ ที่
ท�ำแบบสวนสมรมมี
ไม่มาก
นั
ก ชาวบ้านที่
ท�
ำสวนสมรมส่วนใหญ่สื
บทอดมาจากบรรพบุ
รุ
ษ โดยที่
ผู้สื
บทอดใช้
ชีวิตในท่ามกลางสวนสมรมอยู่แล้วจึงเรียนรู้ตามธรรมชาติ สวนสมรมเป็นสวนซึ่ง
เจ้
าของปลูกทุกอย่
างที่จะกินและใช้ ปล่
อยให้
อยู่
ตามธรรมชาติโดยไม่
จัดระเบียบ
คอยแผ้วถางโคนต้นบ้างในช่วงฤดูเก็บเกี่ยวผล และคอยระวังมิให้เถาวัลย์ขึ้นคลุม
จนต้นไม้ตาย เป็นการปลูกเพื่อยังชีพ แบ่งปันในหมู่เพื่อนฝูงและญาติมิตรที่เหลือ
ขายเป็
นรายได้
การท�
ำสวนสมรมไม่ต้
องใช้
ปัจจัยมากเพราะไม่
ใช้ปุ๋ยเคมี และยา
ฆ่าแมลง จะมี
ก็
เฉพาะการปลูกซ่อมแซม เป็นสวนที่
ไม่ท�ำให้ร�่
ำรวย แต่อยู่ได้อย่าง
พอเพี
ยง มี
ความปลอดภั
ยและมี
ความสุ
ขตามอั
ตภาพ
มี
งานศึ
กษาค้
นคว้
าที่
เจาะลึ
กเกี่
ยวกั
บการท�ำสวนลองกองในจั
งหวั
ดนราธิ
วาส
(วิจิตรา แก้วสุข, 2546) ด้วยการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความส�
ำเร็จในการท�ำ
สวนลองกอง ขั้
นตอนและวิธี
การท�
ำสวนลองกอง และผลกระทบของการท�
ำสวน
ลองกอง ด้านความส�
ำเร็จขึ้นอยู่กับสภาพทางกายภาพอันได้แก่ คุณภาพของดิน
สภาพภูมิ
อากาศ และความสูงต�่
ำของพื้
นที่
ที่
พอเหมาะ ปัจจั
ยทางเศรษฐกิ
จสั
งคม
และวัฒนธรรม ได้แก่ มี
การถื
อครองที่
ดิ
นจ�ำนวนมาก ทุ
นแรงงาน มี
ตลาดรองรั
บ
ผลผลิ
ต มี
การคมนาคมขนส่
งที่
ดี
มี
ความสั
มพั
นธ์
อั
นดี
กั
บเพื่
อนบ้
าน และหน่
วย
งานการปกครองท้
องถิ่
นเห็
นความส�
ำคั
ญ และให้
การสนั
บสนุ
น ส่
วนปั
จจั
ยด้
าน
มนุษย์ นอกจากผู้ท�
ำต้องมีความรู้ความสามารถในการท�
ำสวนลองกองแล้วต้องมี
ความช�ำนาญในการดูแลลองกองทุกระยะ ส�ำหรับปัจจัยทางชีวภาพจะต้องๆดูแล
รั
กษาและก�
ำจั
ดวั
ชพื
ช กาฝาก แมลง และโรคพื
ช ด้
านขั้
นตอนและการท�
ำสวน
ลองกองเกษตรกรจะต้องเตรี
ยมการปลูก เช่น พั
นธุ์ การก�ำหนดพื้
นที่
การขุ
ดหลุ
ม
ฯลฯ ภายหลังที่ปลูกแล้วต้องมีการดูแลรักษาอย่างดี ต้องให้น�้
ำ ปุ๋ย มีการก�
ำจัด
วั
ชพื
ช การตั
ดแต่งกิ่
ง การก�ำจั
ดศั
ตรูพื
ช ฯลฯ และในการเก็
บเกี่
ยวผลต้องรู้สภาพ
ของลองกองที่สุกเต็มที่ ต้
องมีแรงงานและเครื่องมือต่
างๆ ที่ดี ต้องคัดเลือกเกรด
ลองกอง และบรรจุ
ลั
งกระดาษพร้
อมเพื่
อจ�
ำหน่
าย ส�
ำหรั
บผลกระทบจากการท�
ำสวน